พฤติกรรมการบริหารการจัดการเรียนการสอนของผูอำนวยการที่สงผลตอการปฏิบัติงานของครู สังกัดศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ

ผู้แต่ง

  • อรุณโรจน ทองงาม สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • นุชนรา รัตนศิระประภา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

-

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ 1) พฤติกรรมการบริหารการจัดการเรียนการสอนของผูอำนวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ 2)การปฏิบัติงานของครูสังกัดศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ 3) พฤติกรรมการบริหารการจัดการเรียนการสอนของผูอำนวยการที่สงผลตอ การปฏิบัติงานของครู สังกัดศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ กลุมตัวอยาง คือ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ จำนวน 103 อำเภอ ๆ ละ 3 คน ประกอบดวย ผูอำนวยการ หัวหนากลุมสงเสริมการศึกษานอกระบบ และครูศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตำบล สังกัดศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ รวมผูให้ขอมูลทั้งสิ้นจำนวน 309 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารการจัดการเรียนการสอนของผูอำนวยการ ตามแนวคิดของฮอลลิงเจอร และเมอรฟ (Hallinger and Murphy) และการปฏิบัติงานของครูตามคูมือการดำเนินงานตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือความถี่ คารอยละ คามัชฌิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน

ผลการวิจัยพบวา
1. พฤติกรรมการบริหารการจัดการเรียนการสอนของผูอำนวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอโดยภาพรวมและรายดานอยูในระดับมาก เรียงลำดับตามคามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปนอยได ดังนี้ การสื่อสาร
เปาหมายของสถานศึกษา การสงเสริมใหมีการพัฒนาวิชาชีพ การพัฒนาและการสรางมาตรฐานดานวิชาการ การกำหนดเปาหมายของสถานศึกษา การประสานงานดานการใชหลักสูตร การจัดใหมีสิ่งสงเสริมสภาพการเรียนรู การนิเทศและประเมินผลดานการสอน การจัดใหมีสิ่งจูงใจใหกับครู การดูแลเอาใจใสครูและผูเรียนการควบคุมการใชเวลาในการสอน และการตรวจสอบความกาวหนาของผูเรียน
2. การปฏิบัติงานของครู สังกัดศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ทั้งโดยภาพรวมและรายดาน อยูในระดับมากเรียงลำดับตามคามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปนอย ไดแก การปฐมนิเทศและการวางแผนการเรียนรู้การรับสมัครผูเรียนและการตรวจสอบหลักฐานการศึกษา การแนะแนว และการวัดและประเมินผล
3. พฤติกรรมการบริหารการจัดการเรียนการสอนของผูอำนวยการ สงผลตอการปฏิบัติงานของครูสังกัดศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ พบดังนี้ พิจารณาเปนรายดานพบวา ดานการพัฒนาและสรางมาตรฐานดานวิชาการ ดานการนิเทศและประเมินผลดานการสอน ดานการสงเสริมใหมีการพัฒนาวิชาชีพ และพฤติกรรมการบริหารการจัดการเรียนการสอนของผูอำนวยการ สงผลตอ การปฏิบัติงานของครูสังกัดศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภออยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

THE INSTRUCTIONAL MANAGEMENT BEHAVIOR OF DIRECTOR AFFECTING THE PERFORMANCE OF TEACHER UNDER THE DISTRICT NON – FORMAL AND INFORMAL EDUCATION CENTRE

The purposes of this research were to identify 1) The instructional management behavior of director of the district non-formal and informal education centre. 2) The performance of teachers under the district non - formal and Informal education centre 3) The instructional management behavior of director affecting the performance of teachers under the district non - formal and informal education centre. Samples were 103 district non- formal ducation and informal education centers. Three informants in each centre were the director, head of the department of promoting non-formal education, and teacher of sub - district non-formal and informal education centre. Included a total of 309 informants. The research tool used in this study was questionnaire about the instructional management behavior of director. According to the concept of the Hallinger & Murphy and operational directions of teachers which according to the Basic Non- formal Education Curriculum B.E. 2551. The data were
analyzed by using frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis.

The results showed that
1. The instructional management behavior of director of the district non-formal and informal education centre as a whole aspect was at a high level. The high level behaviors which were ranking with arithmetic mean from high to low were; communicating school goals, promoting professional development, developing and enforcing academic standards, framing
school goals, coordinating curriculum, providing incentives for learning, supervising and evaluation instruction, providing incentives for teachers, maintaining high visibility, protecting instructional time and monitoring student progress
2. The performance of teachers under the district non-formal education and informal education centre in a whole aspect was at a high level. The high level performances which were ranking with arithmetic mean from high to low were; porientation and planning education, recruiting students and monitoring transcript, guidance, measurement and evaluation
3. The instructional management behavior of director affecting the performance of teachers under the district non - formal and informal education centre. To consider in each aspect it was found that, developing and enforcing academic standards, supervising and evaluation instruction, promoting professional development, instructional management behavior of
director affected the performance of teachers under the district non - formal and informal education centre at the .01 level of statistical significance.


Downloads