รูปแบบการมีสวนรวมในการบริหารการจัดการศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศกจังหวัดอุบลราชธานี

ผู้แต่ง

  • ศิริพร วงศแสนสาน สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • อัศวฤทธิ์ อุทัยรัตน สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

รูปแบบ, การมีสวนรวมในการบริหารการจัดการศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาสภาพและปญหาการมีสวนรวมในการบริหารการจัดการศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี 2) เพื่อสรางรูปแบบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการการศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี 3) เพื่อนำเสนอและประเมินรูปแบบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีขั้นตอนกระบวนการวิจัยเปน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพและปญหาการมีสวนรวมในการบริหารการจัดการศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี จากบุคลากรที่มีสวนเกี่ยวของ ทั้ง 3 องคกร บาน วัด โรงเรียน ขั้นตอนที่ 2 สรางรูปแบบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี ขั้นตอนที่ 3 นำเสนอและประเมินรูปแบบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี โดยการใหการรับรองรางรูปแบบโดยผูทรงคุณวุฒิ จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบศึกษาเอกสาร แบบสอบถามแบบบันทึกการสังเกต และแบบประเมินรูปแบบ วิเคราะหขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหเนื้อหา

ผลการวิจัยพบวา
1. การศึกษาสภาพและปญหาการมีสวนรวมในการบริหารการจัดการศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี พบวา สภาพการมีสวนรวมในการบริหารการจัดการศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี ทุกดาน โดยภาพรวม อยูในระดับปานกลาง ปญหาหลัก คือ การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการยังไมมีประสิทธิภาพ เนื่องจากครูขาดประสบการณ บุคลากรมีนอยไมเพียงพอจึงจำเปนที่จะตองปฏิบัติงานหลายหนาที่ ทำใหขาดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานในบางครั้งจึงบกพรองไมสมบูรณ
2. การสรางรูปแบบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี พบวา รูปแบบประกอบดวย การมีสวนรวมในการตัดสินใจ การมีสวนรวมในการดำเนินงาน การมีสวนรวม
ในการรับผลประโยชน และการมีสวนรวมในการประเมินผล โดยภารกิจงานทั้ง 4 ดาน ไดแก 1) ดานวิชาการ 2) ดานงบประมาณ 3) ดานบริหารงานบุคคล และ 4) ดานบริหารทั่วไป
3. การนำเสนอและประเมินรูปแบบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการการศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี พบวา มีความเหมาะสมและความเปนไปไดอยูในระดับ มากที่สุด

 

THE MODEL OF PARTICIPATION IN EDUCATIONAL ADMINISTRATION : CASE STUDY SUMMASIKKHARATCHATHANI ASOKA SCHOOL, UBON RATCHATHANI PROVINCE

The research aimed 1) to study the conditions and problems of Participation in Education Administration case study Summasikkharatchathani Asoka School, Ubon Ratchathani Province, 2) to construct the model of participation in education administration case study Summasikkharatchathani Asoka School, Ubon Ratchathani Province and 3) to Propose and evaluate the participation in education administration case study Summasikkharatchathani Asoka School, Ubon Ratchathani Province. The research research step was divided into three. 1. To study the conditions and problems of Participation in Education Administration case study Summasikkharatchathani Asoka School, Ubon Ratchathani Province from three relevant bodies: community, monastery and school. 2. To construct the model of participation in education administration case study Summasikkharatchathani Asoka School, Ubon Ratchathani Province and 3. To Propose and evaluate The Model of Participation in Education Administration case study Summasikkharatchathani Asoka School, Ubon Ratchathani Province. in question validated by 11 experts. The research instruments were documentary studies, observation form, and evaluation model. Statistics used were mean, standard deviation, and content analysis.

The findings revealed as follow :
1. The study the conditions and problems of Participation in Education Administration case study Summasikkharatchathani Asoka School, Ubon Ratchathani Province. The result showed that in overall picture of participation was in average level. The main problems was integrated learning organization was inefficient.
2. Construct the model of participation in education administration case study Summasikkharatchathani Asoka School, Ubon Ratchathani Province. The finding demonstrated that the model consisted of the decision to participate, participation in implementation, the benefits sharing, and the evaluating participation. The tasks were grouped into four dimensions, 1) academic 2) budget 3) personnel administration and 4) General administration.
3. Propose and evaluate The Model of Participation in Education Administration case study Summasikkharatchathani Asoka School, Ubon Ratchathani Province. The outcome showed was suitable and possible in the highest level.

Downloads