การจัดการความรูในโรงเรียนวัดสามงาม (คงทองอนุสรณ)
คำสำคัญ:
-บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ 1) การจัดการความรูในโรงเรียนวัดสามงาม (คงทองอนุสรณ) 2) แนวทางการพัฒนาการจัดการความรูในโรงเรียนวัดสามงาม (คงทองอนุสรณ) ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนวัดสามงาม (คงทองอนุสรณ) ประกอบดวย ผูอำนวยการโรงเรียน รองผูอำนวยการโรงเรียน ขาราชการครู และครูอัตราจาง รวมทั้งสิ้นจำนวน 46 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามและแบบสัมภาษณเกี่ยวกับการจัดการความรูนำมาจากกรอบแนวคิดของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คาความถี่ คารอยละ คามัชฌิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหเนื้อหา
ผลการวิจัยพบวา
1. การจัดการความรูในโรงเรียนวัดสามงาม (คงทองอนุสรณ) โดยภาพรวมและรายดานอยูในระดับมาก เรียงลำดับมัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหานอย ดังนี้ การจัดการความรูดานการสรางและแสวงหาความรู การจัดการความรูดานการเขาถึงความรู การจัดการความรูใหเปนระบบ การจัดการความรูดานการแลกเปลี่ยนเรียนรู การจัดการความรูดานการบงชี้ความรู้ การจัดการความรูดานการเรียนรู และการจัดการความรูดานการประมวลและกลั่นกรองความรู
2. แนวทางการพัฒนาการจัดการความรูในโรงเรียนวัดสามงาม (คงทองอนุสรณ) ควรดำเนินการดังนี้ 1) สงเสริมใหบุคลากรไดรับความรูจากแหลงตางๆ และศึกษาตอในระดับสูงขึ้น 2) แนะนำวิธีการเขาถึงความรูแกบุคลากรอยางทั่วถึงและชัดเจน 3) รวมมือพัฒนาระบบความรูอยางตอเนื่อง 4) สนับสนุนการถายทอดความรูโดยการสอนงานดวยวิธีตางๆ 5) เปดโอกาสใหบุคลากรมีสวนรวมสรางภาพลักษณของโรงเรียน 6) สรางบรรยากาศใหบุคลากรเกิดการเรียนรูในโรงเรียน 7) ปรับปรุงความรูใหตรงกับความตองการของบุคลากร
KNOWLEDGE MANAGEMENT IN WATSAMNGAM (KONGTHONG ANUSORN)SCHOOL
The purposes of this research were to determine : 1) knowledge management in Watsamngam school 2) method for developing knowledge management in Watsamngam school. There were 46 people for the sample including director, vice directors, government teachers and temporary teachers. The research tools were questionnaire and interview from about knowledge management which referred from Office of the Public Sector Development Commission. The statistic for information analysis were Frequency, Percentage, Arithmetic Mean (μ), standard Deviation ( ) and Content analysis.
The research findings were as follow :
1. Knowledge management in Watsamngam school. By Overall and specific part were in a high level for Mean arranging from most to least. There were as follows : knowledge creation and acquisition, knowledge organization, knowledge access, knowledge sharing, knowledge identification, knowledge learning, knowledge codification and refinement.
2. Method for developing knowledge management in Watsamngam school were as follow : 1) encourage the personnel to get knowledge and support higher education 2) the preferred method of accessing knowledge to personnel 3) develop cooperation to knowledge system 4) encourage knowledge transfer by teaching in different ways. 5) encourage the personel to participate image of school. 6) creat atmosphere of personnel to learning. 7) Update knowledge with desire of person.