สมรรถนะครูกับการดำเนินงานตามมาตรฐานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดปทุมธานี

ผู้แต่ง

  • ศศิมาพร คชาชัย สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • มัทนา วังถนอมศักดิ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

-

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ 1) สมรรถนะครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดปทุมธานี 2) การดำเนินงานตามมาตรฐานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดปทุมธานี 3) ความสัมพันธระหวางสมรรถนะครูกับการดำเนินงานตามมาตรฐานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดปทุมธานี กลุมตัวอยางในการวิจัย คือ โรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดปทุมธานี จำนวน 19 โรง ผูใหขอมูล สถานศึกษาละ 4 คน รวมทั้งสิ้น 76 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะครู ตามคูมือการประเมินสมรรถนะครูของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการดำเนินงานตามมาตรฐานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ตามคูมือครูที่ปรึกษาระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนโดยกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือ ความถี่ รอยละ คามัชฌิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน

ผลการวิจัยพบวา
1. สมรรถนะครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวาสมรรถนะครูอยูในระดับมากที่สุด จำนวน 3 ดาน เรียงจากมากไปหานอยดังนี้ ดานจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู ดานการพัฒนาผูเรียน ดานการบริการที่ดี และอยูในระดับมาก จำนวน 8 ดาน เรียงจากมากไปหานอยดังนี้ ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน ดานการพัฒนาตนเอง ดานการทำงานเปนทีม ดานการมุงผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน ดานภาวะผูนำครู ดานการสรางความสัมพันธและความรวมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู ดานการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู ดานการวิเคราะห สังเคราะห และการวิจัยเพื่อพัฒนาผูเรียน
2. การดำเนินงานตามมาตรฐานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวมอยู
ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา การดำเนินงานตามมาตรฐานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนทุกมาตรฐาน อยูในระดับมากที่สุด จำนวน 2 ดาน เรียงจากมากไปหานอยไดดังนี้ ดานครูที่ปรึกษา ผูปกครอง และผูเกี่ยวของมีการประสานสัมพันธกันอยางสม่ำเสมอและตอเนื่อง ดานมีการชวยเหลือนักเรียนอยางมีประสิทธิภาพ และอยูในระดับมาก จำนวน 2 ดาน เรียงจากมากไปหานอยไดดังนี้ ดานการบริหารจัดการระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนอยางเปนระบบ ดานการพัฒนาครูที่ปรึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวของใหมีความรู ความเขาใจ มีเจตคติที่ดีและมีทักษะในการเปนครูที่ปรึกษา เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานในหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ
3. สมรรถนะครูกับการดำเนินงานตามมาตรฐานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดปทุมธานี
มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

 

TEACHER’S COMPETENCIES AND THE STUDENT CARE AND SUPPORT SYSTEM OF
SECONDARY SCHOOLS IN PATHUM THANI PROVINCE

The purposes of this research were to find: 1) the teacher’s competencies of the secondary schools in pathum thani province, 2) the student care and support system of the secondary schools in pathum thani province, 3) the relationship between the teacher’s competencies and the student care and support system of the secondary schools in pathum thani province. The samples in this research consisted of 19 secondary schools in Pathum thani province. The respondents were a school administrator, assistant administrator (student affairs administrators), 1 head of department, and a classroom teacher / a counselor, totally 76 respondents. The research instrument used for gathering data was a questionnaire concerning the teacher’ s competencies according to the guide for teacher competencies evaluation of the Office of Basic Education and the student care and support system according to the manual of the classroom teacher for the student care and support system by the department of Mental health Ministry of Public Health.The statistics analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Pearson’s product – moment correlation coefficient.

The results of this research were as follows:
1. The teacher’s competencies of secondary schools in Pathum thani province, as a whole was at a high level, as an individual, were to find : 3 aspects were at the highest level, ranking from the highest to the lowest: teacher’s ethics and integrity, student development, service mind. And 8 aspects were at high level ranking from the highest to the lowest:
classroom management, self development, teamwork, working achievement motivation, teacher leadership, relationships and collaborative-building for learning management, curriculum and learning management, analysis and synthesis and classroom research.
2. The student care and support system of the secondary schools in Pathum thani province, as a whole was at a high level, as an individual, were to find : 2 aspects were at the highest level, ranking from the highest to the lowest: the counselor, parent who is to related with school for consistently coordination and continuously , a process to help student effectively. Two aspects were at high level, ranking from the highest to the lowest: the systematically management of the student care and support system in the school, professional development for counselor and personnel related to the knowledge, interested, a good attitude and having skills for counselor.
3. The relationship between the teacher’s competencies and the student care and support system of the secondary schools in Pathum thani province was correlated at a high level significant at the level of .01


Downloads