การบริหารการเปลี่ยนแปลงกับความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน ของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
คำสำคัญ:
-บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ 1) การบริหารการเปลี่ยนแปลงของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ 2) ความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียนของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และ 3) ความสัมพันธระหวางการบริหารการเปลี่ยนแปลงกับความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียนของคณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ กลุมตัวอยางคือ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ จำนวน 14 แหง ผูใหขอมูลแหงละ 15 คน ประกอบดวย ผูบริหารจำนวน 5 คน บุคลากรสายวิชาการจำนวน 5 คน และบุคลากรสายสนับสนุน จำนวน 5 คน รวมผูใหขอมูลจำนวนทั้งสิ้น 210 คน เครื่องมือที่ใชเปนแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลงของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐตามแนวคิดของเลวิน (Lewin) ความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียนของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐตามแนวคิดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแหงชาติ(สกอ.) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก ความถี่ รอยละ คามัชณิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน
ผลการวิจัยพบวา
1. การบริหารการเปลี่ยนแปลงของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยภาพรวมและรายดานอยูในระดับปานกลางเรียงลำดับจากคามัชณิมเลขคณิตจากมากไปหานอย ดังนี้ ดานการละลายพฤติกรรมเดิม ดานการเปลี่ยนแปลงและดานการรักษาการเปลี่ยนแปลงใหคงอยู
2. ความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน ของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยในกำกับ ของรัฐโดยภาพรวมและรายดานอยูในระดับปานกลางเรียงลำดับจากคามัชณิมเลขคณิตจากมากไปหานอย ดังนี้ดานรูจักตนเองดานการติดตามขอมูลขาวสารความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนดานการเรียนรูดานการสรางโอกาสในการเพิ่มพูนสมรรถนะในตนดานแนวคิดและทัศนคติ และดานลักษณะนิสัย
3. การบริหารการเปลี่ยนแปลงกับความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียนของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยภาพรวมมีความสัมพันธกันอยูในระดับสูง ลักษณะแบบคลอยตามกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
THE CHANGE MANAGEMENT AND THE READINESS TOWARD THE ASEAN COMMUNITY
IN THE FACULTY OF ENGINEERING OF AUTONOMOUS UNIVERSITY
The objectives of this research were to know 1) the change management in the Faculty of Engineering of Autonomous University, 2) the readiness toward the ASEAN community in the Faculty of Engineering of Autonomous University, and 3) the relationship between the change management and the readiness toward the ASEAN community in the Faculty of Engineering of Autonomous University. The sample consisted of 14 Engineering Faculties of Autonomous University. The 15 respondents of each faculty were 5 executive staffs, 5 academic staffs, and 5 administrative staffs, 210 respondents in total. The research instrument was a questionnaire concerning the change management based on Lewin’s concept and the readiness toward the ASEAN community based on the guideline of the Office of the Higher Education Commission. The statisticsused to analyze the data werefrequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and Pearson’s product moment correlation coefficient.
The research findings were as follows
1. The change management in Faculty of Engineering of Autonomous University was at moderate level in overall and individual aspect; rankingorder : unfreezing, changing and refreezing, respectively.
2. The readiness toward the ASEAN community in the Faculty of Engineering of Autonomous University, was at moderate level in overall and individual aspect;ranking order : self-awareness, monitoring ASEAN updates, learning, self-enhancement opportunity, idea and attitude, and personal characteristics.
3. The relationship between the change management and the readiness toward the ASEAN community in Faculty of Engineering of Autonomous University wasfound at 0.01 level of statistical significance.