Development of Enrichment Curriculum Based on an Instructional Coaching Approach to Promote the Ability to Write a Learning Experience Plan for Student Teachers
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์คือ 1) เพื่อพัฒนาหลักสูตรเสริมตามแนวคิด Instructional Coaching
เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้หลักสูตรเสริมตามแนวคิด Instructional Coaching เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่กำลังศึกษารายวิชาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
ปีการศึกษา 2565 จำนวน 42 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) และใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มตัวอย่างเดียวทดสอบหลังเรียน The One – Shot Case Study เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบประเมินแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (
งานวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์คือ 1) เพื่อพัฒนาหลักสูตรเสริมตามแนวคิด Instructional Coaching
เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้หลักสูตรเสริมตามแนวคิด Instructional Coaching เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่กำลังศึกษารายวิชาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
ปีการศึกษา 2565 จำนวน 42 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) และใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มตัวอย่างเดียวทดสอบหลังเรียน The One – Shot Case Study เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบประเมินแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (X) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลวิจัยพบว่า 1. หลักสูตรหลักสูตรเสริมตามแนวคิด Instructional Coaching เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู มีองค์ประกอบของหลักสูตร ได้แก่1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) โครงสร้างสาระสำคัญ 4) ระยะเวลา 5) กิจกรรมการเรียนรู้ 6) สื่อการเรียนรู้ และ7) การประเมินผล 2. หลังการใช้หลักสูตรเสริมตามแนวคิด Instructional Coaching เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครูอยู่ในระดับดี อยู่ในระดับดี
(X = 4.11, S.D. = 0.42)
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Bureau of Academic Affairs and Educational Standards. (2017).Early Childhood Curriculum B.E.
(A.D. 2017). Aksornthai Printing Ltd., Part.
Homchaiyawong, D. (2014).The development of instructional model focusing on coaching and
mentoring to enhance elementary teachers competencies of the student teachers. http://www.sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/11662?attempt=2&&locale-attribute=th (In Thai)
Hui, K. S., Khemanuwong, T., & Ismail, S. A. M. M. (2020). Keeping teachers afloat with instructional
coaching: Coaching Structure and Implementation. The Qualitative Report, 25(7), 1790-
Office of the Council State. (2019). Early childhood development act B.E.2562.
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/ A/056/T_0005.PDF (In Thai)
Office of the Education Council. (2021) .Early Childhood Development Plan B.E.2564-2570.
https://opac01.stou.ac.th/multim/Gift_eBook/165145.pdf. (In Thai)
Renzulli, J. (2014). The schoolwide enrichment model: a comprehensive plan for the
development of talents and giftedness. Revista Educação Especial, 27(50), 539-562. https://www.redalyc.org/articulo.oa?id=313132120002
Rittikoop, W. (2019). Instructional coaching: Guidelines for the development of teachers'
instruction. Ratchaphruek Journal, 17(1), 1-10. (In Thai)
Wiles, J. W., & Bondi, J. C. (2014). Curriculum development. Pearson Education.