[Retracted Article] การสร้างความสามารถทางการประเมิน : แนวคิดและการประยุกต์ใช้

Main Article Content

ชัยมงคล ปินะสา
รณธิชัย สวัสดิ์
ผศ.ดร. กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์

บทคัดย่อ

[บทความฉบับนี้ถูกถอนจากวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เนื่องจากบทความเข้าข่ายการคัดลอกผลงานทางวิชาการ]


การประเมินเปรียบเสมือนเครื่องมือที่สำคัญขององค์กรที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จได้ หัวใจสำคัญของการประเมิน คือ “ประเมินเพื่อพัฒนา” แนวคิดการประเมินเพื่อพัฒนาองค์กรนี้ เรียกว่า การสร้างความสามารถทางการประเมิน (Evaluation Capacity Building : ECB)  เข้ามาเป็นกลไกช่วยพัฒนาองค์กรและบุคลากรทั้งในเรื่องความสามารถในการทำงานไปจนถึงศักยภาพที่ช่วยให้องค์กรนั้นประสบความสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น โดยแนวคิดและการประยุกต์ใช้การสร้างความสามารถทางการประเมิน ที่นิยมใช้ในการพัฒนาศักยภาพทางการประเมินแก่บุคคล กลุ่มบุคคล และองค์กรกันอย่างแพร่หลายทั้งใน วงการสาธารณสุข การบริหารองค์กร รวมทั้งวงการการศึกษา  โดยใช้กลยุทธ์ในการสร้างความสามารถในการประเมินต่าง ๆ เช่น การประชุมปฐมนิเทศ (Meeting & Orientation) การฝึกอบรมออนไลน์ (E-training) การเข้าร่วมในกระบวนการประเมินผล (Involvement in an Evaluation Process) ความช่วยเหลือทางวิชาการ (Technical Assistance) การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Communities of Learning) และการชี้แนะ (Coaching) โดยนำระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาช่วย เพื่อให้องค์กรมีความเข้มแข็งและนําพาองค์กรไปสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Articles)
Author Biographies

ชัยมงคล ปินะสา, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชานวัตกรรมทางการวัดผลการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

รณธิชัย สวัสดิ์, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2

นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชานวัตกรรมทางการวัดผลการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผศ.ดร. กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาขาวิชานวัตกรรมทางการวัดผลการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

References

กัญญารัตน์ ผึ่งบรรหาร . (2553). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะการประเมินสำหรับบุคลากรสุขภาพ. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
เนตรรัชนี กมลรัตนานันท์. (2008). การพัฒนาโมดูลการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการประเมินสำหรับอาจารย์พยาบาล. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษาคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พินดา วราสุนันท์. (2554). การพัฒนาศักยภาพทางการประเมินในด้านการสร้างข้อสอบของครูประถมศึกษา โดยใช้เครือข่ายมิตรวิพากษ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษาคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมชัย สินแท้ . (2561). การพัฒนารูปแบบการสร้างสมรรถนะการประเมินของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : การประยุกต์ใช้แนวคิดการสร้างความสามารถการประเมินวิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษาคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Baizerman, M., Compton, D.W. and Stockdill, S.H. (2002). New directions for ECB. In D.W. Compton et al., The art, craft, and science of evaluation capacity building. New Directions for Evaluation 93: 47-60.
Baker, A. and Bruner, B. (2005). Evaluation capacity & evaluative thinking in organizations. [online]. Available from: http://www.brunerfoundation.org/ei/docs/EvalCap_EvalThink.pdf [2020,August 2].
Bakken, L.L.; Nunez, J. and Couture, C. (2014). A course model for building evaluation capacity through a university-community partnership. American Journal of Evaluation, 35(4), 579-593.
Beere, D. (2005). Evaluation capacity-building: a tale of value-adding. Evaluation Journal of Australasia 5(2): 41-47.
Boyle, R. and Lemaire, D. (1999). Building effective evaluation capacity. [online]. Availablefrom:http://www.google.com/books?hl=th&lr=lang_en&id=822G71l9hhoC&oi=fnd&pg=PA1&dq=evaluation+capacity+building&ots=KAmC01k59A&sig=ox9e99YgAKKL_imjFuRwdY2gbuw[2020, August 2].
Chen, H.T. (2005). Pratical program evaluation. London: Sage Publications.
Clinton, J. (2014). The true impact of evaluation : motivation for ECB. American Journal of Evaluation, 35(1),120-127.
Compton, D.W., Baizerman, M. and Stockdill, S.H. (2002). The art, craft, and science of evaluation capacity building. New Directions for Evaluation 93.
Compton, D.W., et al. (2002). Ongoing capacity building in the american cancer society (ACS). In D.W. Compton et al., The art, craft, and science of evaluation capacity building. New Directions for Evaluation 93: 47-60.
Garcia-Iriarte, E.; Suarez-Balcazar, Y.; Taylor-Ritzler, T. and Luna, M. (2011). A catalyst-for-change approach to evaluation capacity building. American Journal of Evaluation, 32(2), 168-182.
Huffman, D., Thomas, K. and Lawrenz, F. (2008). A collaborative immersion approach to evaluation capacity building. American Journal of Evaluation, 29(3), 358-368.
King, J.A. (2007). Process use in theory, research and practice. New Directions for Evaluation, 116.
Milstein, B., Chapel, T.J., Wetterhall, S.F. and Cotton, D.A. (2002). Building capacity for program evaluation at the center for disease control and prevention. In D.W. Compton et al., The art, craft, and science of evaluation capacity building. New Directions for Evaluation 93: 27-44. San Francisco: Jossey-Bass.
Preskill, H. and Boyle, S. (2008). A multidisciplinary model of evaluation capacity building. American Journal of Evaluation, 29, 443-459.
Sleezer, C.M.; Kelsey, K.D. and Wood, T.E. (2008). Three reflection on asssessing safety training needs: a case study. Performance Improvement Quarterly 21(2): 103-118.
Stoop, G. (2008). Increasing evaluation capacity in the education sector. New Zealand Principals' Federation Magazine, 9-10
Taut, S. (2007). Studying self-evaluation capacity building in a large international development organization. American Journal of Evaluation 28(1): 45-59.
Taylor-Powell, E. and Boyd, H.H. (2008). Evaluation capacity building in complex organizations. New Directions for Evaluation, 120, 55-69.