การสำรวจความคิดเห็นบุคลากรด้านความเป็นสากลของสถาบันการศึกษา
คำสำคัญ:
การพัฒนาความเป็นนานาชาติ, การวิเคราะห์ข้อมูลจากฐานรากบทคัดย่อ
ความเป็นนานาชาติของสถาบันการศึกษามีความสำคัญในยุคโลกาภิวัตน์ และการจัดลำดับมหาวิทยาลัยโลก ความสำเร็จของพันธกิจขององค์กรต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปฏิบัติการทุกระดับ งานวิจัยนี้สำรวจความเห็นจากฐานรากครั้งแรกด้านความเป็นสากลของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล โดยใช้แบบสอบถามแบบตัดขวาง ในปี พ.ศ. 2561-2562 มีผู้ตอบแบบสอบถาม 267 คน (ร้อยละ 33 จากบุคลากรทั้งหมด) ประกอบด้วยบุคลากรสายวิชาการ (n=68) สายสนับสนุนวิชาการและอื่นๆ (n=106) และสายสนับสนุนวิชาชีพเฉพาะ (n=93) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีทัศนคติเชิงบวกต่อวิสัยทัศน์นานาชาติ มีความเชื่อมั่นความเป็นนานาชาติขององค์กร และประสิทธิภาพการสื่อสารภาษาอังกฤษของสายวิชาการ เห็นด้วยกับความจำเป็นการใช้ภาษาอังกฤษและการพัฒนาสู่ความเป็นนานาชาติ โดยคะแนนรวมของแบบสอบถามอยู่ระดับปานกลางถึงมาก คะแนนเฉลี่ย (mean+SD) เบี่ยงแบนจากมากสุด (3.83+0.42) เรื่องความเป็นนานาชาติของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน และน้อยสุด (2.95+0.91) เรื่องความมั่นใจทักษะภาษาอังกฤษของตนเอง บุคลากรส่วนใหญ่ยินดีที่จะสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษ (76%) และสมัครใจพัฒนาภาษาอังกฤษ โดยเลือกการร่วมการฝึกอบรมร้อยละ 46.4, สันทนาการเป็นภาษาอังกฤษร้อยละ 23.6 และ ทุนศึกษา/ดูงานร้อยละ 30 การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าบุคลากรทุกระดับเห็นด้วยกับวิสัยทัศน์ และการธำรงความเป็นนานาชาติขององค์กร และพร้อมใจที่จะพัฒนาภาษาอังกฤษ การศึกษานี้เป็นกรณีตัวอย่างการหาข้อมูลจากฐานรากเพื่อสนับสนุนรูปแบบการพัฒนายุทธศาสตร์หลักขององค์กร
References
Brandenburg, U., Ermel, H., Federkeil, G., Fuchs, S., Groos, M., & Menn A. (2009). How to measure the internationality and internationalization of higher education institutions: indicators and key figures. In Hans de Wit (Ed.), Measuring success in the internationalisation of higher education (pp. 65-76). Amsterdam: European Association for International Education (EAIE).
Fraser, E.D.G., Dougill, A.J., Mabee, W.E., Reed, M. & McAlpine, P. (2006). Bottom up and top down: analysis of par-ticipatory processes for sustainability indicator identification as a pathway to community empowerment and sustainable environmental management. Journal of Environmental Management (J. Environ. Manage). 78, 114–127.
Lewis, B. (2020, March). Fluent in 3 Months. Retrieved from https://www.fluentin3months.com/reading-writing-speaking-and-listening/
Mahidol (2019 April). Mahidol University Strategic Plan 2020-2023. Retrieved from https://med.mahidol.ac.th/policy/sites/default/files/public/pdf/PLANMU4.pdf
Namthip Anantsupamongkol & Savika Varaporn. (2018). From Literacy to Multiliteracies in English as a Foreign Language: The Use of Graphic Organizer. The international journal of Royal Society of Thailand. X, 92-104
Office of Higher Education. (2018, April). 20-Year Higher Education Plan, 2018 – 2037, Office of Higher Education Policy and Planning. Bangkok: Prik Wan Graphic Company Limited. Retrieved from http://www.mua.go.th/users/bpp/main/download/plan/plan20yrs.pdf
Porntip Kanjananiyot. (2019). Fulbright Knowledge Sharing. INTERNATIONALIZATION AT HOME. Retrieved from http://www.fulbrightthai.org/knowledge
QS university ranking. (2019, April). Retrieved from https://www.topuniversities.com/qs-world-university-rankings
Times Higher Education. (2020, March). Retrieved from https://www.timeshighereducation.com/world-university-rankings
UI GreenMetric. (2020, March). Retrieved from http://greenmetric.ui.ac.id/overall-rankings-2019/
University of Education on Life for All Project: 120.
Mahidol. (1997). Announcement of Mahidol University Subject: Determination of passing English proficiency tests of university staff (Version 2). Retrieved from https://ka.mahidol.ac.th/th/index-file
ชุติมา สัจจานนท์. (2558). ความเป็นสากลของการศึกษาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ในประเทศไทย. วารสารวิจัย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 8(2) น.1-19.
ผ่องศรี ก้อนทอง และคณะ. (2561). การบริหารคนเก่ง: การประเมินความสำเร็จและความพึงพอใจ
โดยคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารสหศาสตร์, 18(2) น.38-64.
มณฑล สรไกรกิติกูล. (2563). มุมมองและสถานการณ์การวิเคราะห์ข้อมูลด้านทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ, 43(165), น.1-16.
สืบค้นที่ http://www.jba.tbs.tu.ac.th/files/Jba165/Article/JBA165MonCha.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 ผ่องศรี ก้อนทอง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารสหศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษาแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ท่านที่ประสงค์จะส่งบทความ ผลงานวิจัย ข้อคิดเห็นทางวิชาการลงตีพิมพ์วารสารสหศาสตร์ กรุณาส่งมาที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล