การประยุกต์ใช้แนวคิด Transtheoretical model (TTM) และกลยุทธ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อการเลิกบุหรี่ในกลุ่มนักศึกษา
คำสำคัญ:
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุหรี่, แนวคิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Transtheoretical model), ทัศนคติต่อการสูบบุหรี่บทคัดย่อ
สถานการณ์การสูบบุหรี่ของวัยรุ่นในประเทศไทย ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำมีอายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่เฉลี่ยที่ 17.9 ปี โดยกลุ่มเยาวชนได้รับผลกระทบทั้งทางตรงคือจากการเป็นนักสูบหน้าใหม่และยังติดบุหรี่ในอนาคตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเยาวชนไม่สามารถประสบความสำเร็จได้ด้วยการให้ความรู้เพียงด้านเดียว การประยุกต์ใช้แนวคิดและกลยุทธ์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่จึงเป็นแนวทางสำคัญต่อการแก้ปัญหาดังกล่าว โดยแนวคิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Transtheoretical model; TTM) เป็นแนวคิดที่มีประสิทธิภาพและมีการใช้อย่างแพร่หลายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จากการทดลองใช้แนวคิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมประยุกต์ผ่านการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ พบว่า กลุ่มนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทัศนคติที่ดีขึ้น บทความนี้ได้สรุปองค์ประกอบของแนวคิดและกลยุทธ์ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติและตัวอย่างกิจกรรมของการใช้กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเยาวชน
References
2. Prochaska JO, Redding CA, Evers KE. (2008). The transtheoretical model and stages of change. IHealth behavior and health education: Theory, research and practice.
3. World Health Organization. (2015). WHO global report on trends in tobacco smoking 2000- 2025. Retrieved July 10, 2019, from https://www.who.int/tobacco/publications/ surveillance/reportontrendstobaccosmoking/en/
4. กุลธิดา พานิชกุล. (2556). การประยุกต์ใช้โมเดลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(Transtheoretical Model) เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการออกกำลังกาย. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชศรีมา, 19(1): 66-76.
5. กรองจิต วาทีสาธกกิจ. (2555). ความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบบุหรี่นี้. มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่. สืบค้นจาก ncd.surinpho.go.th/web2/SaveFile.php
6. ชลลดา ไชยกุลวัฒนา ประกายดาว สุทธิ และวิชานีย์ ใจมาลัย. (2560). พฤติกรรมสูบบุหรี่และปัจจัยเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นตอนต้นจังหวัดพะเยา. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 1(1): 57-67.
7. ปิยะพล ทรงอาจ. (2560). การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแบบจำลองข้ามทฤษฎีเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนิสิตบรรพชิต มหาวิทยลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย, 7(ฉบับพิเศษ): 160-173.
8. ผาณิต หลีเจริญ. (2556). การนํารูปแบบ TTM ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันการเกิด ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 23(3), 3-8.
9. พลากร สืบสำราญ และคณะ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติต่ออันตรายของการสูบบุหรี่ กับการสูบบุหรี่ของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย, 19(3): 12-20.
10. ภานิสา ระยา. (2558). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่ตามแบบจำลองขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชนในตำบลวังวน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ, 31(2): 9-23.
11. วรรณรัตน์ รัตนวรางค์. (2562). กลยุทธ์ในการสร้างสาร. พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 กิตรวี จิรรัตน์สถิต, ญาดา กิมเปา, กนกรัตน์ แสวงศรี, บงกช ชาวโคราช, ปฏิมาล์ ศิริพิรุณ, สุโรธร ตุ้มประสิทธิ์, กานต์พิชชา บุญค้ำชู, กรภัค วิบูลธนบัตร, ณัฐชนน ตั้งไพบูลย์พงศา, พ.ต.ต.หญิง ดร.คัติยา อีวาโนวิช
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารสหศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษาแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ท่านที่ประสงค์จะส่งบทความ ผลงานวิจัย ข้อคิดเห็นทางวิชาการลงตีพิมพ์วารสารสหศาสตร์ กรุณาส่งมาที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล