พฤติกรรมการทำการเกษตรกรรมในการส่งเสริมการเป็นเมืองเกษตรสีเขียวของเกษตรกรใน ตำบลบางแพ อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี
คำสำคัญ:
FARMING BEHAVIOR / PROMOTING / GREEN ARICULTURAL CITYบทคัดย่อ
การศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการทำการเกษตรกรรมในการส่งเสริมการเป็นเมืองเกษตรสีเขียวของเกษตรกรในตำบลบางแพ อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำการเกษตรกรรมในการส่งเสริมการเป็นเมืองเกษตรสีเขียวของเกษตรกรในตำบลบางแพ อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี ทดสอบความแตกต่างของปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำการเกษตรกรรมในการส่งเสริมการเป็นเมืองเกษตรสีเขียวของเกษตรกร และแนวทางในการส่งเสริมพฤติกรรมการทำการเกษตรกรรมในการส่งเสริมการเป็นเมืองเกษตรสีเขียวของเกษตรกรในตำบลบางแพ อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี ใช้แบบสอบถามในการวิจัย วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) สุ่มตัวอย่าง 254 ครัวเรือน ผลการศึกษา พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมเกี่ยวกับเกษตรกรรมสีเขียวในระดับน้อย โดยมีปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเกี่ยวกับเกษตรกรรมสีเขียวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ อายุ จำนวนสมาชิกในครัวเรือน อาชีพรอง รายได้จากอาชีพรอง พื้นที่ถือครอง การรับรู้ข่าวสาร ข้อเสนอแนะ ควรมีการส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ให้มีความอุดมสมบูรณ์ มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเกษตรกรสีเขียวและการส่งเสริมผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ภายในจังหวัดราชบุรี
References
กรมพัฒนาที่ดิน. (2557). โครงการ6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ กรมพัฒนาที่ดิน 6 GreenAgriculture City Model. (Online). Available:http://www.ldd.go.th/WEB_Greencity/6Greencity.html
มณเฑียร สติมานนท์. (2559). เกษตรสีเขียว (Green Agriculture). (Online). Available: https://progreencenter.org.
มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture). (2562). ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน. (Online). Available: http://www.nawachione.org.
มูลนิธินวชีวัน. (2555). ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน. (Online). Available : http://www.nawachione.org.
ลดาวัลย์ คำภา. (2560). การพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืนภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ( พ.ศ. 2560 – 2564 ). (เอกสารประกอบการประชุม รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)
วริพัสย์ เจียมปัญญารัช. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของเกษตรกรอินทรีย์ของไทย:บทเรียนจากเกษตรกรรายย่อย. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สำนักงานจังหวัดราชบุรี. (2562). แผนพัฒนาจังหวัดราชบุรี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖5(ฉบับทบทวนปี พ.ศ.2563). (Online). Available http://www.ratchaburi.go.th/plan-2551/index.html
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดราชบุรี. (2562). ประวัติความเป็นมา. (Online). Available: http://ratchaburi.cdd.go.th
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ( พ.ศ. 2560 – 2564 ). (Online). Available: https://www.nesdb.go.th.
สำนักวางแผนการเกษตรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2554). ความหมายของเกษตรกรรมยั่งยืน. (Online). Available: http://www.nesdb.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=2700
สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน. (2562). หัวใจสำคัญของการพัฒนาเมืองเกษตรสีเขียว. (Online). Available: http://www.ldd.go.th/WEB_Greencity/PDF/6GAC_Ratburee.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 nachaphim ariyawutthichai
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารสหศาสตร์เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษาแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ท่านที่ประสงค์จะส่งบทความ ผลงานวิจัย ข้อคิดเห็นทางวิชาการลงตีพิมพ์วารสารสหศาสตร์ กรุณาส่งมาที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล