The Relationship between Job Competency and Work Achievement of Academic Supporting Staffs of Nakhon Ratchasima Rajabhat University

Authors

  • ศุทธินี รัตนเนนย์

Keywords:

สมรรถนะประจำตำแหน่ง ผลสัมฤทธิ์ในการทำงาน พนักงานในสถาบันอุดมศึกษาสายสนับสนุน

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะประจำตำแหน่งกับผลสัมฤทธิ์
ในการทำงานของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา สายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา  โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา สายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏนาครราชสีมา จำนวน 218 คน  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูน และการวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะประจำตำแหน่ง ด้านการดำเนินงานเชิงรุก ด้านการยืดหยุ่นผ่อนปรน และด้านศิลปะการสื่อสารจูงใจ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับผลสัมฤทธิ์ในการทำงานโดยรวม ดังนั้น พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา สายสนับสนุน จึงควรให้ความสำคัญกับการมีสมรรถนะประจำตำแหน่งซึ่งเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ และส่งเสริมให้สามารถปฏิบัติงานในตำแหน่งงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลในการทำงาน

References

กองบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. (2560). ข้อมูลบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ค้นเมื่อ 10 สิงหาคม
2560, จาก http://vpress.nrru.ac.th/personnel/index.php?option=com_content&view=article&id=85.

ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต. (2552). 26 F ของการทำงานให้มีประสิทธิภาพ + ประสิทธิผลสูงสุด. ค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2561,
จาก http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=1446.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

ประไพทิพย์ ลือพงษ์. (2555). การพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีสมรรถนะความสามารถในการแข่งขัน. วารสารนักบริหาร, 32(4), 103-108.

พินิจศักดิ์ สุวรรณรังค์. (2556). ศิลปะการสื่อสารจูงใจขั้นสูง. ค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2561,
จาก http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=32054&Key=news2.

ไพบูลย์ ปัญญายุทธการ. (2561). การทำงานเชิงรุก หรือ Proactive Behavior. ค้นเมื่อ 11 มิถุนายน 2561,
จาก http://www.knowledgertraining.com/index.php?tpid=0088.

มหาวิทยาลัยมหิดล. (2554). คู่มือระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน.มหาวิทยาลัยมหิดล. ค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2560,
จาก http://www.op.mahidol.ac.th/orpr/newhrsite/PerformanceAgreement/Document/Center/6.pdf.

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. (2557). ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรื่อง กำหนดสมรรถนะประจำตำแหน่งและระดับ
ที่คาดหวังสำหรับพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญ
เฉพาะ. ลงวันที่ 7 ตุลาคม 2557.

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. (2558ก). ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล
การปฏิบัติงานของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ลงวันที่ 2 เมษายน 2558.

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. (2558ข). ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรื่อง กำหนดสมรรถนะประจำตำแหน่งและ
ระดับที่คาดหวังสำหรับพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประเภทผู้บริหาร.
ลงวันที่ 2 เมษายน 2558.

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. (2560). ข้อมูลบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2560,
จาก http://vpress.nrru.ac.th/personnel/index.php?option=com_content&view=article&id=85.

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. (2554). คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม. ฉบับปรับปรุง 14 กรกฎาคม 2554. มหาสารคาม : กองบริหารงานบุคคล.

ศุภชัย ยาวะประภาษ. (2548). การบริหารงานบุคคลภาครัฐไทย : กระแสใหม่และสิ่งท้าทาย. กรุงเทพฯ : จุดทอง.

สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2552). ระเบียบวิธีการวิจัยสำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2554). ที่ ศธ.0509(2)/ว2. หนังสือราชการเรื่อง แนวทางการกำหนดสมรรถนะ ความรู้
ความสามารถและทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานสำหรับตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา.
ลงวันที่ 24 มกราคม 2554.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2551). คู่มือ สมรรถนะข้าราชการพลเรือนไทย. กรุงเทพฯ : พี.เอ.ลีฟวิ่ง.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2552). คู่มือ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ: ภาพรวมระบบบริหารผลงานและระบบ
ผลการปฏิบัติราชการ. กรุงเทพฯ : พี.เอ.ลีฟวิ่ง.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2553). คู่มือการกำหนดสมรรถนะในราชการพลเรือน : คู่มือสมรรถนะเฉพาะลักษณะงาน
ที่ปฏิบัติ. นนทบุรี : ประชุมช่าง.

สิทธิชัย ศรีเจริญประมง, นภดล แสงแข, ฤดีวรรณ ยิ่งยง และภานิตา โพธิ์แก้ว. (2560). การศึกษาสภาวการณ์ปัจจุบันทุนมนุษย์
ด้านสมรรถนะของพนักงานในธุรกิจโรงแรมจังหวัดจันทบุรี เพื่อรองรับมาตรฐานวิชาชีพท่องเที่ยวอาเซียน. วารสารวิชา
การนวัตกรรมสื่อสารสังคม. 5(2), 17-28.

อาริษา โคตรเครื่อง. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะประจาสายงานกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของนักวิชาการศึกษา
ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Black, K. (2006). Business statistics for contemporary decision making. 4th ed. USA : John Wiley & Son.

Nunnally, J.C. (1978). Psychometric Theory. New York : McGraw-Hill.

Downloads

Published

07-10-2019

How to Cite

รัตนเนนย์ ศ. (2019). The Relationship between Job Competency and Work Achievement of Academic Supporting Staffs of Nakhon Ratchasima Rajabhat University. Journal of Accountancy and Management, 11(1), 103–113. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/220129

Issue

Section

Research Articles