บทบาทความเป็นดั้งเดิมในบริบทการท่องเที่ยวกับการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเพนียดคล้องช้าง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Main Article Content

ประเสริฐ โยธิคาร์
นิพาภรณ์ แสงสว่าง

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาบทบาทความเป็นดั้งเดิมกับการอนุรักษ์เพนียดคล้องช้าง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อให้ได้ข้อชี้นำอันจะเป็นแนวทางการส่งเสริมบทบาทความเป็นดั้งเดิมในบริบทการท่องเที่ยวกับการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมให้มีความยั่งยืน อาจกล่าวได้ว่าบทบาทความเป็นดั้งเดิมของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวทั้งผลกระทบด้านบวกและด้านลบ ดังนั้น เพื่อสร้างดุลยภาพในการจัดการความเป็นดั้งเดิมของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม จำเป็นอย่างยิ่งต้องคำนึงถึงการจัดการทั้งมิติชุมชนแหล่งท่องเที่ยวหรือเจ้าบ้าน มิตินักท่องเที่ยวผู้มาเยือน และมิติกลไกการจัดการ อันจะนำไปสู่การจัดการการอนุรักษ์ความเป็นดั้งเดิมของมรดกทางวัฒนธรรมและการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให้เป็นไปในทิศทางที่เหมาะสมและยั่งยืนต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กฤษณะ เนียมหอม และกัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์. (2564). การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชน. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(11), 350-363.

เกรียงไกร วัฒนาสวัสดิ์. (2555). ความจริงแท้ในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงโหยหาอดีต: กรณีศึกษาชุมชนตลาดสามชุกร้อยปี จังหวัดสุพรรณบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม) ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ

เกรียงไกร วัฒนาสวัสดิ์. (2556). ความคิดเห็นและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวต่อความจริงแท้ในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงโหยหาอดีต: กรณีศึกษาชุมชนตลาดสามชุกร้อยปี จังหวัดสุพรรณบุรี. สืบค้นจาก: https://www.tci-thaijo.org/index.php/damrong/article/view/21529

เดลินิวส์. (2562). เพนียดช้างหลวงอยุธยา แหล่งประวัติศาสตร์ไทย. สืบค้นจาก https://www.dailynews.co.th/article/716318

ทัศนัย เศรษฐเสรี. (2551). การประยุกต์ใช้มรดกทางศิลปวัฒนธรรมไทยในผลงานศิลปกรรมไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม.

ไทยพีบีเอส. (2562). ภาพในอดีต "เสาตะลุง" เพนียดคล้องช้าง. สืบค้นจาก https://news.thaipbs.or.th/content/280452

พนิดา สมประจบ. (2554). เครื่องทองลงหิน: รูปแบบการอนุรักษ์และฟื้นฟูงานศิลปหัตถกรรมในภาคกลาง (ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิชาวัฒนธรรมศาสตร์) ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

พยอม ธรรมบุตร. (2549). หลักการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พรลภัส อุณาพรหม. (2556). บทบาทการสื่อความหมายมรดกทางวัฒนธรรมแหล่งมรดกโลก นครประวัติศาสตร์อยุธยา. สืบค้นจาก: http://www.articles.citu.tu.ac.th/wp-content/.../1-2556_005.pdf

Castéran, H. & Roederer, C. (2013). Does authenticity really affect behavior? The case of the Strasbourg Christmas Market. Tourism Management, 36(2013), 153-163.

Cater, K. A. (2008). Volunteer Tourism: Exploration of the Perceptions and Experiences of Volunteer tourists and the Role of Authenticity in those Experiences (Unpublished Master’s thesis), Lincoln University, Lincoln.

Cohen, e. & Cohen, S. (2012). Authentication: Hot and Cool. Annals of Tourism Research, 39(3), 1295-1314.

Gyimothy, S. & Johns, N. (2001). Developing the role of quality. In Drummond, S. and Yeoman, I. (eds) Quality Issues in Heritage Visitor Attractions (pp. 243-266). Oxford: Butterworth-Heinemann.

Harvey, W. R. (2004). Authenticity and Experience Quality among Visits at a Historic Visitors. (Unpublished Master’s thesis). Virginia Polytechnic Institute and State University, Blacksburg.

Nation TV. (2019). ชาวอยุธยาจี้กระทรวงวัฒนธรรมระงับบูรณะเพนียด กรมศิลป์ฯ ยันแบบถูกต้อง. สืบค้นจาก: https://www.msn.com/th-th/news/national/ชาวอยุธยาจี้กระทรวงวัฒนฯ ระงับบูรณะเพนียด

Mckercher, B. & Hilary du Cros. (2002). Cultural Tourism: The Partnership between Tourism and Cultural Tourism Management. New York: The Haworth Hospitality Press.