ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ของกลุ่มผู้สูงวัยในสภาวะพฤฒพลังในประเทศไทย FACTORS AFFECTING ACTIVE AGING TOURIST’S DECISION TO JOIN AGROTOURISM ACTIVITY IN THAILAND.

Main Article Content

ชฎาพร จักรทอง
กนกกานต์ แก้วนุช

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร (2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมด้านการท่องเที่ยวของกลุ่มผู้สูงวัยในสภาวะพฤฒพลังในประเทศไทย และ (3) เพื่อศึกษาแรงจูงใจที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกรูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวของกลุ่มผู้สูงวัยในสภาวะพฤฒพลังในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษาจำนวน 410 คน ช่วงอายุตั้งแต่ 61 ปีขึ้นไป ที่อาศัยใน แต่ละภูมิภาคของประเทศไทย การวิจัยนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ทำการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ ในการวิเคราะห์ หาค่าสถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า  1) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอยู่ในระดับมากที่สุด คือด้านที่พัก 2) พฤติกรรมด้านการท่องเที่ยวของกลุ่มผู้สูงวัยในสภาวะพฤฒิพลังในประเทศไทย เน้นกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เนิบช้าและเรียบง่ายเพื่อชมธรรมชาติ เยี่ยมชมสถานที่ และชมการสาธิตต่าง ๆ และส่วนใหญ่เลือกกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในสถานที่ท่องเที่ยวที่ผสมกลิ่นอายของวิถีชุมชน และพึงพอใจที่ค่าใช้จ่ายประมาณ 5,001 – 10,000 บาท ต่อทริป 3) ระดับแรงจูงใจที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกรูปแบบการท่องเที่ยวอยู่ในระดับมากที่สุดคือ แรงจูงใจผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น สังคมออนไลน์ และโทรทัศน์

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ: 18 สิงหาคม 2564]. [สืบค้นจาก: https://www.dop.go.th/].

กาญจนา กาแก้ว. (2558). พฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่สวนเกษตร จังหวัด

ระยอง.การค้นคว้าอิสระ สาขาการจัดการท่องเที่ยว คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม, มหาวิทยาลัย

ธุรกิจบัณฑิต.

กุศล สุนทรธาดา และกมลชนก ชำสุวรรณ. (2553). ระดับและแนวโน้มความมีพฤฒิพลังของผู้สูงอายุไทย. การ

ประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2553: 26-38

จิราวดี รัตนไพฑูรย์ชัย. (2557). ตลาดนักท่องเท่ียวผู้สูงอายุ: โอกาสใหม่ไทย เติบโตรับ AEC. หนังสือพิมพ์

กรุงเทพธุรกิจ Section: ASEAN: 1.

ชิตวร ประดิษฐ์ยอด. (2559). ปัจจัยองค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยว และปัจจัยแรงจูงใจในการท่อง

เที่ยวที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกท่องเที่ยวปริมณฑลของคนวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร.

การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ณัฎฐ์พัชร์ กาญจนรัตน์ และกุลพิชญ์ โภไคยอุดม. (2562). การท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อความสนใจท่องเที่ยวเชิง

โหยหาอดีตของนักท่องเที่ยวชายไทยที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและ

สุขภาพ, 2563(21), 283-285.

เดชา โต้งสูงเนิน. (2543). การบริหารจัดการการท่องเที่ยวเกษตร กรณีศึกษาบ้านม่วงคำ ตำบลโป่งแยง อำเภอ

แม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, คณะ

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นิรันดร ทัพไชย. (2550). กลยุทธ์การตลาดในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. นนทบุรี : มหาวิทยาลัย

สุโขทัยธรรมาธิราช.

ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2565

ประติมากร วงษ์ดี. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรของ

นักท่องเที่ยวชาวไทยกรณีศึกษาศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านของพ่อ ตำบลภูเขาทอง อำเภอ

พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. การค้นคว้าอิสระ สาขาการจัดการอุตสาหกรรมการ

บริการและการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ปริศนา มั่นเภา. (2558). พฤติกรรมการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงเกษตร: กรณีศึกษา คลองมหาสวัสดิ์

จังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 2559 (10), 104-109.

ปารณีย์ ศรีสวัสดิ์. (2553). การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุราษฎร์ธานี: การวิจัยฐานทรัพยากรเกษตรสู่การท่องเที่ยว

อย่างยั่งยืน. ประชาคมวิจัย (16-19).

ปรารถนา ศิริเบ็ญนรัต. (2553). รูปแบบการท่องเที่ยวของผู้สูงอายุที่เป็นข้าราชการบำนาญในเขตเทศบาล

จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

รัตนศักดิ์ เนียมโสภา. (2560). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานศูนย์ติดตั้งและบำรุงรักษาอุปกรณ์

สมุทรปราการ. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

พงศ์เสวก อเนกจำนงค์พร. (2558). พฤติกรรมการท่องเที่ยวของประชากรรุ่นเบบี้บูมในกรุงเทพมหานคร.

วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการ

ท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

พลอยระพี ชลวณิช (2555). แรงจูงใจที่มีผลต่อการท่องเที่ยวภายในประเทศของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร.

วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา, จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

ภัททิศร์โชคอนันต์ตระกูล. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกแหล่งท่องเที่ยวของผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ปริญญา

มหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาคณะวิทยาศาสตร์, การกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เล็ก สมบัติศศิพัฒน์ยอดเพชร และธนิกานต์ศักดาพร. (2554). ภาวะสูงวัยอย่างมีคุณประโยชน์กับการพัฒนา

สังคมและเศรษฐกิจในประเทศไทย. มหาวิทยลัยธรรมศาสตร์.

วรการ สุดาแก้ว. (2555.) ศักยภาพในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในสวนส้มอำเภอแม่แตง จังหวัด

เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, คณะบริหารธุรกิจ,

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สมชาย ไชยมูลวงศ์ และคณะ. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจและพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของ

นักท่องเที่ยวชาวไทย กรณีศึกษาหมู่บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง. วารสารวิจัยและ

ส่งเสริมวิชาการเกษตร, 2562 (37), 71-78.

สุดา วงศ์สวัสดิ์. (2015). พัฒนาผู้สูงวัยสู่ภาวะ “พฤฒิพลัง” วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, (2016)

กรกฎาคม – กันยายน ปีที่ 24 ฉบับที่ 3, 202-207

Cohen, E. 1979. ‚ A Phenomenology of Tourist Experience, Sociology, 13, p. 179-201.

Crompton, J.L. and McKay, S.L, (1997), Motives of visitors attending festival events, Annals of

Tourism Research, 24 (2). p. 425-439.

ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2565

Hutchison, T., Morrison, P. and Mikhailovich, K. (2006). A review of the literature on active

ageing. University of Canberra. Canberra.

Poon, A. (1994). The New Tourism Revolution. Tourism Management 31, p. 754-758.

Tourism Western Australia. (2008). 5A’s of Tourism

World Health Organization. (2002). Active Ageing: A Policy Framework. Geneva: World Health

Organization