TOURISTS’ SATISFACTION OF PUBLIC TRANSPORT USE IN PHUKET.

Main Article Content

Haswanee Langkaweekate
Chidchanok Anantamongkolkul
Nasrin Supornhemhiran
Duanghathai soottapun
Nuttapat Kasetwatanapol

บทคัดย่อ

การขนส่งสาธารณะเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่มีความสำคัญต่อนักท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ตเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวสำหรับนักท่องเที่ยวทั่วโลก ซึ่งมีการให้บริการการขนส่งสาธารณะหลากหลายรูปแบบในการรองรับผู้โดยสาร อย่างไรก็ตาม การศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวเกี่ยวกับการขนส่งสาธารณะในจังหวัดภูเก็ตยังมีจำนวนจำกัด ดังนั้น จุดประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ คือ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวเกี่ยวกับการใช้บริการขนส่งสาธารณะ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ใช้รถสองแถวในจังหวัดภูเก็ต เครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถามจำนวน 200 ชุด การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา พบว่า ผู้ใช้บริการรถสองแถวส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวที่มาภูเก็ตเป็นครั้งแรก ซึ่งเดินทางกับเพื่อนและครอบครัว สาเหตุหลักของการใช้บริการขนส่งดังกว่า คือ ความคุ้มค่าด้านราคา ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจสูงสุดต่อคุณภาพการบริการในด้านพฤติกรรมของผู้ร่วมเดินทาง และจำนวนที่นั่ง นอกจากนี้ การวิเคราะห์องค์ประกอบได้ค้นพบ 3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริการขนส่งสาธารณะ คือ ระบบการจัดการ ความสะดวกสบาย และพนักงานขับรถ อีกทั้งการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย พบว่า พนักงานขับรถ และระบบการจัดการมีความสำคัญต่อการบอกต่อการใช้บริการรถสองแถวในจังหวัดภูเก็ตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องสามารถประยุกต์ใช้รายงานการวิจัยในการศึกษาครั้งนี้ได้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Barr, S., & Prillwitz, J. (2012). Green travellers? Exploring the spatial context of sustainable
mobility styles. Applied geography, 32(2), 798-809.
Budiono, O. (2009). Customer Satisfaction in Public Bus Transport: A study of travelers'
perception in Indonesia.
Churchill, G. A. (1979). A Paradigm for developing better measures of marketing constructs. Journal of Marketing Research, 16(1), 64-73.
Dell’Olio, L., Ibeas, A., & Cecin, P. (2011). The quality of service desired by public transport
users. Transport Policy, 18(1), 217-227.
DeVellis, R. F. (2012). Scale development: theory and applications (Vol. 26.). Thousand Oaks, Calif: SAGE.
Gutiérrez, A., & Miravet, D. (2016). The determinants of tourist use of public transport at the
destination. Sustainability, 8(9), 908.
Field, A. P. (2009). Discovering statistics using SPSS. Los Angeles; London: SAGE.
Ismail, R., Hafezi, M. H., Nor, R. M., & Ambak, K. (2012). Passengers preference and
satisfaction of public transport in Malaysia. Australian Journal of Basic and Applied Sciences, 6(8), 410-416.
Le-Klähn, D. T., Hall, C. M., & Gerike, R. (2014b). Analysis of visitor satisfaction with public
transport in Munich. Journal of Public Transportation, 17(3), 5.
Le-Klaehn, D. T., Gerike, R., & Hall, C. M. (2014a). Visitor users vs. non-users of public
transport: The case of Munich, Germany. Journal of Destination Marketing & Management, 3(3), 152-161.
National Statistical Phuket Office. (2019). Phuket Tourism Statistics. Retrieved [online] 18
September 2019 from http://phuket.nso.go.th/
Nwachukwu, A. A., Gladys, N. I., & Chikezie, O. K. (2019). Tourists’ satisfaction with public
transport services in Lagos, Nigeria. AUC Geographica.
Ok, S., & Hengsadeekul, T. (2018). Customer Satisfaction on Service Quality of Bus Transport:
A Survey of Passengers from Phnom Penh to Poipet in Cambodia. Journal of Social Science Studies, 5(2), 114-131.
Pawlasová, P. (2015). The factors influencing satisfaction with public city transport: A structural
equation modelling approach.
Thongphon Promsaka Na Sakolnakorn1, Aree Naipinit & Patarapong Kroeksaku (2013).
Sustainable tourism development and management in the Phuket province, Thailand. Asian Social Science, 9(7), 75.
Shaaban, K., & Khalil, R. F. (2013). Investigating the customer satisfaction of the bus service in
Qatar. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 104, 865-874.
Tourism Authority of Thailand. (2019). About thailand. Retrieved [online] 18 September 2019
from http://www.tourismthailand.org/