กลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอุทยานแห่งชาติไทย:กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศคือหนึ่งในภาคส่วนที่มีความเติบโตอย่างรวดเร็วที่สุดในโลก รวมถึงในประเทศไทยด้วยเช่นกัน ภาครัฐบาลได้พัฒนาอุทยานแห่งชาติและอุทยานทางทะเลให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่สำคัญ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศก้าวเข้ามาเป็นปัจจัยความสำคัญในการสร้างรายได้ของประเทศ โดยนำเสนอศักยภาพของชุมชนท้องถิ่น ซึ่งไม่เพียงแค่ส่งผลต่อความยั่งยืนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังนำสู่การปรับปรุงสวัสดิการและสังคมของชุมชนท้องถิ่น การศึกษานี้ให้ความสำคัญในกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ โดยใช้เครื่องมือการสัมภาษณ์เชิงลึกและการเก็บแบบสอบถามจากกลุ่มประชากรตัวอย่าง 302 ครัวเรือนในเขตอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ผลสรุปของการศึกษาพบว่าการมีส่วนร่วมของชุมชนในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยรวมอยุ่ในระดับปานกลาง และเสนอให้เจ้าหน้าที่ฝึกอบรมและสร้างการจัดการที่เหมาะสมให้กับชุมชนท้องถิ่นเพื่อเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอุทยานแห่งชาติดอยอินททนท์
Article Details
References
Community Development Project.(2015).Information of Ban Phamon Ban Luang Sub-district Chomthong District Chiangmai.PTT Group.
Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation.(2012).50 Years Thailand’s National Park.Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation,Bangkok.
Doi Inthanon National park.(2016).Data of Residence Inside and Boring in Doi Inthanon National Park 2016.1.13.
Mak Kwun-ling.(2011). Community Participation in Tourism: A Case Study from Tai O,Hong Kong.The University of Hong Kong,Hong Kong.
Napaporn Chancai.(2010).Sustainable Tourism Planning and Management Based on Community Participation in the Context of National Parks.Oxford Brooks University, United Kingdom.
Peter E. Murphy,Ann E. Murphy.(2004).Strategic Management for Tourism Communities Bridging the Gaps. Frankfurt Lodge,New York and Ontario.
Peter E. Murphy.(1980).Tourism management in Host Communities.The Canadian Geographer.24(1):1–2.
Wang Rui Hong.2003.Community Participation:The Appropriate Way to Achieve Sustainable Development of Tourism.Yun Nan University,China.
Siranee Sangkaphat.(2005).Factors Affecting on People Participation in Ecotourism Management of Klonglan National Park, Changwat Kamphaeng Phet, Thailand.Kasetsart University,Bangkok.
Yeboah.(2013).Assessing Community Participation in Selected Ecotourism Projects in The Brong-Ahafo Region, Ghana.Ecology and The Natural Environment.5(7).133-143.