การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเมืองรองในภาคเหนือ : การประเมินศักยภาพในจังหวัดน่าน ลำปาง เพชรบูรณ์

ผู้แต่ง

  • กัญญารินทร์ ไชยจันทร์ สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม, เมืองรอง, ภาคเหนือ, ท่องเที่ยววิถีไทย, การประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว

บทคัดย่อ

การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดท่องเที่ยวเมืองรองในภาคเหนือ ประกอบไปด้วยจังหวัดน่าน จังหวัดลำปาง และจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยกระบวนการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณด้วยเทคนิคการวิจัยเชิงสำรวจจากประชากรที่เป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยที่กำลังเดินทางท่องเที่ยว และการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่ เพื่อนำข้อมูลไปสู่การเป็นต้นแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมต่อไป                                                                                                    ผลการศึกษา พบว่า รูปแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสม ประกอบไปด้วย รูปแบบเมืองเก่าที่ยังคงอนุรักษ์วิถีชีวิต เมือง ศิลปะ วัฒนธรรมแบบโบราณ เพื่อให้สัมผัสกับความงดงามแบบดั้งเดิม พื้นที่ธรรมชาติที่สมบูรณ์ มีทรัพยากรท่องเที่ยวที่หลากหลาย ทิวทัศน์ที่งดงาม เป็นเมืองเก่าที่ยังมีชีวิต รวมทั้งมีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นและเป็นแหล่งวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกัน ซึ่งมีความเหมาะสมในด้านศักยภาพในการดึงดูดใจในด้านการท่องเที่ยวมากที่สุด (Mean=4.23) ทั้งในมิติความหลากหลายของสินค้าการท่องเที่ยว รวมทั้งเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่แตกต่างจากท้องถิ่นอื่น คุณค่าที่ควรอนุรักษ์และการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีมาอย่างต่อเนื่อง และยังมีการสืบทอดภูมิปัญญาและองค์ความรู้ของวิถีชีวิต ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันอย่างเห็นได้ชัด การพัฒนาการท่องเที่ยวจึงมีศักยภาพมาก (Mean=4.12) ในทุกมิติไม่ว่าเป็นการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางเดินทางมีความสะดวกสบาย และความหลากหลายของกิจกรรมท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในพื้นที่ท่องเที่ยว สำหรับการบริหารจัดการก็มีศักยภาพมาก (Mean=4.06) ในทุกมิติเช่นกัน ซึ่งเมื่อศึกษาภาพรวมทุกมิติจะเห็นได้ว่าแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดน่าน จังหวัดลำปาง และจังหวัดเพชรบูรณ์ มีความเหมาะสมในการพัฒนาสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรมการท่องเที่ยว, กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563, มกราคม). Retrieved from https://www.dot.go.th/ebooks/ ebooks-view/418?fbclid=IwAR0m5bJaso9n2uf_5s3aBcQhUW2QO88SHBOaEfsodL4aXRIU1g2czq2fLLM

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563, พฤศจิกายน 5). กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. Retrieved from https://mots. go.th: https://mots.go.th/more_news_new.php?cid=592

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564, มกราคม 26). กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. Retrieved from https:// mots.go.th: https://mots.go.th/more_news_new.php?cid=594

กระทรวงวัฒนธรรม. (2564). กระทรวงวัฒนธรรม. Retrieved from https://www.m-culture.go.th: https://www.m-culture. go.th/policy/ewt_dl_link.php?nid=422&filename=index

กาญจนา สุคัณธสิริกุล. (2556). การพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. นครราชสีมา: ทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2558). TAT Review. เข้าถึงได้จาก http://www.etatjournal.com/: http://www.etatjournal. com/mobile/index.php/menu-read-tat/menu-2015/menu-12015/219-12015-discover-thainess

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2561). เข้าถึงได้จาก https://golocal.tourismthailand.org/: https://golocal.tourismthailand.org/

จริญญา ณพิกุล. (2554). การศึกษาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเพื่อ การพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.

เจนจิรา บรรจงนึก, อัศวิน แสงพิกุล. (2555). แรงจูงใจและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยว จังหวัดน่าน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2540). วิถีไทยการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: โครงการวิถี ทรรศน์.

ไทยโพสต์. (2563, ธันวาคม 30). ไทยโพสต์. Retrieved from ttps://www.thaipost.net: https://www.thaipost.net/ main/detail/88321

ธนาคารกรุงไทย. (2563). เข้าถึงได้จาก https://krungthai.com/: https://krungthai.com/Download/ economyresources/EconomyResourcesDownload_450%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%8

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: เพรส แอนด์ ดีไซน์.

ประชาชาติธุรกิจ. (2563, พฤษภาคม 3). ประชาขาติธุรกิจออนไลน์. Retrieved from https://www.prachachat.net: https://www.prachachat.net/tourism/news-458963

พงษ์พิพัฒน์ เสน่ห์ดี. (2564). กลยุทธ์การพัฒนาที่พักแบบโฮมสเตย์ในพื้นที่ล้านนาตะวันออกสู่การส่งเสริมการท่อง เที่ยวเมืองรอง. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ, 14-27.

ไพพรรณ มุ่งศิริและคณะ. (2554). ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเพื่อนำไปสู่มาตรฐานสากล กรณีศึกษา : ตลาดน้ำเทศบาลเมืองคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. สงขลา: Rajamangala University of Technology Srivijaya.

ภาณุรังษี เดือนโฮ้ง. (2558). นครน่านเมืองเก่าที่มีชีวิต : อัตลักษณ์ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 123-140.

มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด. (2564, มีนาคม 12). กรุงเทพธุรกิจ. Retrieved from https://www.bangkokbiznews.com/: https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/926948

รุ้งนภา ด้วงทอง. (2554). ศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของตลาดเก่า 119 ปี เจ็ดเสมียน ตำบลเจ็ดเสมียน อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วงศ์ธีรา สุวรรณิน และคณะ. (2557). การศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดในจังหวัดปทุมธานี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ , 63-82.

วงษ์ปัญญา นวนแก้วและคณะ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวในภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, 95-103.

ศิริขวัญ ปัญญาเรียน และคณะ. (2563). การศึกษาผลของนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรองภาคเหนือตอนบน (แพร่ น่าน ลำพูน ลำปาง). วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง, 41-52.

ศิริพร ถาวรวิสิทธิ์, เสรี วงษ์มณฑา. (2564). แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดน่าน. วารสารสมาคมนักวิจัย, 298-314.

ศุภวรรณ ตีระรัตน์, สันติธร ภูริภักดี. (2564). การรับรู้ในเสน่ห์เมืองรองของประเทศไทยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในธุรกิจการประชุมองค์กรและการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 337-347.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (26 พฤศจิกายน 2561). เข้าถึงได้จาก kasikornresearch.com: https://kasikornresearch.com/th/ analysis/k-econ/business/Pages/z2941.aspx

ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2561). ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว. Retrieved from http://www.dla.go.th/:http://www.dla.go.th/upload/news/type9/2018/11/40628_1.pdf?time=1544920032593

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ). (2565). สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. Retrieved from https://tdri.or.th/: https://tdri.or.th/2022/04/soft-power-thai/

สมเกียรติ ชัยพิบูลย์. (2550). การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนนครชุม อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร. กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

International Council on Monuments and Sites (ICOMOS). (2011, November 11). Retrieved from https://www. icomos.org/: https://www.icomos.org/en/newsletters-archives/179-articles-en-francais/ressources/charters-and-standards/162-international-cultural-tourism-charter

Taro Yamane. (1973). Statistics: an introductory analysis-3.

World Tourism Organization (UNWTO). (2018). Tourism and Culture Synergies. Spain: the World Tourism Organization (UNWTO).

World Tourism Organization (UNWTO). (2020). World Tourism Organization. Retrieved from https://www.unwto. org/: https://www.unwto.org/sustainable-development

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-29