ปัญหาทางกฎหมายของมาตรการชดเชยและเยียวยา ความเสียหายในคดีบุกรุกพื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในปัจจุบันประเทศไทยดำเนินคดีแพ่งกับผู้บุกรุกพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างเข้มงวด แต่พยานหลักฐานทางเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมที่หน่วยงานของรัฐนำมาใช้ในการคำนวณค่าเสียหายยังไม่เป็นที่ยอมรับของประชาชน ไม่มีการให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบังคับใช้กฎหมาย และศาลยุติธรรมมีอำนาจจำกัดในการกำหนดมาตรการฟื้นฟูเยียวยาความเสียหาย จึงทำให้การบังคับใช้กฎหมายเพื่อฟื้นฟูเยียวยาความเสียหายพื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทยอาจสร้างความไม่เป็นธรรมแก่ประชาชนได้
บทความนี้มุ่งศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาข้อจำกัดในการกำหนดมาตรการชดเชยและเยียวยาความเสียหายในคดีบุกรุกพื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทยเฉพาะคดีแพ่ง โดยเปรียบเทียบกับแนวทางการดำเนินการตามกฎหมายของสหรัฐอเมริกา เพื่อเสนอแนวทางในการแก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติม หรือตีความกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดมาตรการชดเชยและเยียวยาความเสียหายในคดีบุกรุกพื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทยให้มีความเหมาะสมมากขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
Benjachaya, S. (2008, February 1). The court’s witness in civil compensation case regarding forest trespasser. https://www.dnp.go.th/ fca16/file/bshmvw07bkd7jcx.doc. (In Thai)
Jaihan, N. (2018, May 18). The problem about damage calculation on the destruction of natural resources. siamrath. https://siamrath. co.th/n/35872. (In Thai)
Jumpa, M. (2009). The introduction to the US law. Bangkok: Winyuchon. (In Thai)
Muanpawong, S. (2008). Participatory learning to legislative drafting Act on Procedure of Natural Resources Case B.E. (book 3): the complete report, pp 174-182. (In Thai)
Muanpawong, S. (2018). Full option of the environmental justice. Jounal of Supreme Court, 12. (In Thai)
Pali, B (2020). European Forum for Restorative Justice. https://www.euforumrj .org/ sites/default/files/202005EFRJ_Thematic_Brief _Restorative _Environmental_Justice.pdf. 1-2.
Phongphaichit, P.(narrator). (2021). Seminar men with the forest: motivation to conserve under national parks law. Bangkok: Faculty of Economics, Chulalongkorn University. (In Thai)
Ruangsri, W. (2009). The assessment of environmental value: the experience from the United States courts. Proceeding of the new way in developing environmental justice system (pp 6-8). Bangkok: Office of the Judiciary. (In Thai)
Seenprachawong, U. (2013). The economics value assessment of natural resources and environment. Bangkok :P. A. living Co., Ltd, 120-121. (In Thai)
Sumantakul, T. (2016). Law and Economics. Bangkok: Winyuchon, 118. (In Thai)
Tantikul, T. (2016). Men trespass forest or forest trespasses men: The law interpretation for justice in case of indigenous people in the forest. Dunlaphaha Journal, 1(63), 1-67. (In Thai)
The Supreme Administrative Court. (2011).Ordered No.14/2558. https://admincourt.go.th/admincourt/site/?page=05searchcate gorydetail&id=1-2-2733 (In Thai)
US EPA. (n.d. A). Principles of Wetland Restoration. https://www.epa.gov/ wetlands/principles-wetland-restoration.
US EPA. (n.d.B). John Raftopoulos, et al. Clean Water Act Settlement. https://www.epa.gov/enforcement/john-raftopoulos-et-al-clean-water-act-settlement.
Wittawatchutikul, P. (2011). The development of simulation of the forest ecological system’s value. http://www.fca16.com/ upload/ files/suthep-pui/0915.7_3227%5B1%5D.pdf. (In Thai)