บทบาทของมหาวิทยาลัยราชภัฏกับการระงับข้อพิพาทในชุมชนด้วยวิธีการไกล่เกลี่ย
คำสำคัญ:
มหาวิทยาลัยราชภัฏ, การระงับข้อพิพาทชุมชน, การไกล่เกลี่ยบทคัดย่อ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นซึ่งมีอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ ในบทบาทและความรับผิดชอบของพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 8 (4) เรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและนักการเมืองท้องถิ่น ให้มีจิตสำนึกประชาธิปไตย คุณธรรม จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม ถ้ามหาวิทยาลัยราชภัฏส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการระงับข้อพิพาทในชุมชนด้วยวิธีการไกล่เกลี่ยซึ่งเป็นการบริการวิชาการอย่างหนึ่งจะทำให้ประชาชนในชุมชนท้องถิ่นได้เข้าถึงความยุติธรรมด้วยตัวเอง ด้วยความสมัครใจ ประหยัดค่าใช้จ่าย ประหยัดเวลา รักษาสัมพันธภาพในชุมชน ซึ่งจะก่อให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชน และเมื่อชุมชนเข้มแข็งประเทศชาติจะพัฒนาและมีความมั่นคง
References
พรรณยง พุฒิภาษ. (2550). การขจัดความขัดแย้งกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:ธนาเพรส.
ศิรินรัตน์ รัตนพันธ์. (2543). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดล้อม: ศึกษากรณีมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุนีย์ มัลลิกะมาลย์. (2545). รัฐธรรมนูญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพิทักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สรวิศ ลิมปรังษี. (2560). กฎหมายกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท. กรุงเทพฯ: แอคทีฟ พริ้นท์.
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2547). พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินผลคุณภาพการศึกษา.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
สำนักระงับข้อพิพาท. (ม.ป.ป.). เอกสารฝึกอบรมอาสาสมัครไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลยุติธรรม.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)