การตีความเชิงอรรถศาสตร์ของโครงสร้างวิเศษณานุประโยค ในนวนิยายและข่าวการเมืองและข่าวกีฬา
คำสำคัญ:
การตีความเชิงอรรถศาสตร์, โครงสร้างวิเศษณานุประโยค, นวนิยาย, ข่าวการเมือง ข่าวกีฬาบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับการตีความเชิงอรรถศาสตร์ของโครงสร้างวิเศษณานุประโยคในนวนิยาย ข่าวการเมืองและข่าวกีฬา งานวิจัยก่อนหน้านี้ให้ความสำคัญกับการศึกษาโครงสร้างวิเศษณานุประโยคในเอกสารวิชาการ งานศึกษาโครงสร้างวิเศษณานุประโยคในครั้งนี้จึงเลือกตัวบทที่แตกต่างคือนวนิยาย ข่าวการเมืองและข่าวกีฬา คลังข้อมูลนวนิยายเก็บรวบรวมมาจาก I am sort of a loser (Smith, 2014), The Little Prince (De Saint-Exupéry, 2019), Harry Potter and the Chamber of Secrets (Rowling, 2016) และ Alice in the Wonderland (Carroll, 2018) ซึ่งเป็นนวนิยายขายดี www.amazon.com คลังข้อมูลข่าวการเมืองเก็บรวบรวมมาจากหนังสือพิมพ์ Bangkok Post ระหว่างวันที่ 17-30 มกราคม 2565 คลังข้อมูลข่าวกีฬาเก็บรวบรวมมาจาก BBC news ระหว่างวันที่ 17-30 มกราคม 2565 คลังข้อมูลการศึกษาโครงสร้างวิเศษณานุประโยคประกอบด้วยจำนวน 200,000 คำ ซึ่ง 100,000 คำถูกเก็บรวบรวมมาจากนวนิยายและ 100,000 ถูกเก็บรวบรวมมาจากข่าว โครงสร้างวิเศษณานุประโยคจำนวนทั้งสิ้น 364 ประโยคแบ่งออกเป็น 250 ประโยคจากนวนิยายและ 114 ประโยคจากข่าว การวิเคราะห์โครงสร้างวิเศษณานุประโยคทำตามแบบของ Swan (2016) เพื่อความน่าเชื่อถือของการวิเคราะห์ข้อมูล อาจารย์สอนภาษาอังกฤษจำนวนสามท่านทำการตรวจสอบการวิเคราะห์โครงสร้างวิเศษณานุประโยคในการศึกษานี้ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโครงสร้างวิเศษณานุประโยคเกี่ยวกับเวลาพบในความถี่ที่สูงทั้งสามคลังข้อมูล อย่างไรก็ตาม โครงสร้างวิเศษณานุประโยคเกี่ยวกับการให้เหตุผลพบในความถี่ที่สูงในข่าวการเมือง นักวิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศและผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองในเชิงการใช้โครงสร้างวิเศษณานุประโยคในตัวบทที่แตกต่าง
References
Ashida, A., & Kojiri, T. (2018). Question-Based Idea Generation System for Writing Novels. In 2018 International Symposium on Educational Technology (ISET). pp. 165-167).
Biber, D., & Conrad, S. (2019). Register, genre and style. Cambridge: Cambridge University Press.
Carroll, L. (2018). Alice in the Wonderland. UK: Wordworth.
De Saint-Exupéry, A. (2019). The Little Prince. UK: HarperCollins.
Durrant, P., Brenchley, M., & Clarkson, R. (2020). Syntactic development across genres in children's writing: The case of adverbial clauses. Journal of Writing Research, 1, pp. 420-450.
Gregor, J. (2021). Adverbial Clauses in Newspaper Sports Discourse. Retrieved from
https://dk.upce.cz/bitstream/handle/10195/77676/GregorJ_AdverbialClauses_PH_2021.pdf?sequence=1
Gustilo, L.E. (2010). Although if is more frequent than whether...: An analysis of the uses of adverbial clauses in Philippine English research articles. Philippines ESL Journal, 4, pp. 24-44.
Haryanti, S., Haryono, P., Setyandari, A., & Widayanti, S.R. (2021). The use of constructions in the novel the autumn of the patriarch by Gabriel Garcia Marquez. Jurnal Penelitian Humaniora, 22(2), pp. 97-109.
McGarry, T., Anderson, D.I., Wallace, S.A., Hughes, M.D., & Franks, I.M. (2002). Sport competition as a dynamical self-organizing system. Journal of Sports Sciences, 20(10), pp. 771-781.
McGarry, T., & Kiser, K. (2017). Adverbial clauses and speaker and interlocutor gender in Shakespeare’s plays. Palgrave Communications, 3(1), pp. 1-12.
Kirkpatrick, A. (2020). The Routledge handbook of world Englishes. New York: Routledge.
Radford, A. (2009). Introduction to sentence structure. Cambridge: Cambridge University Press.
Rowling, J.K. (2016). Potter and the Chamber of Secrets. London: Bloombury.
Smith, J. (2014). I am sort of a loser. London: Farshore.
Swan, M. (2016). Practice English usage. Oxford: Oxford University Press.
Tuchscherer, N.R. (2016). Adverbial Clauses in 4th Grade Science Textbooks: A Structural and Functional Analysis. Retrieved from https://digitalcommons. hamline.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=5114&context=hse_all
Wei, R., & Su, J. (2012). The statistics of English in China: An analysis of the best available data from government sources. English Today, 28(3), pp. 10-14.
Wongkittiporn, A. (2021). Adverbial Clauses in English Cookbooks. Thoughts, 1(2021), pp. 72-104.
Zuhriyah, M. (2017). Problem-based learning to improve students’ grammar competence. Register Journal, 10(1), pp. 48-61.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)