อุปลักษณ์เกี่ยวกับผู้หญิงในบทเพลงสุนทราภรณ์
คำสำคัญ:
อุปลักษณ์, ผู้หญิง, บทเพลงสุนทราภรณ์บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุปลักษณ์เกี่ยวกับผู้หญิงในบทเพลงสุนทราภรณ์ โดยใช้ทฤษฎีอรรถศาสตร์ปริชานในการวิเคราะห์ข้อมูลจากบทเพลงของสุนทราภรณ์จำนวน 99 เพลง ผลการวิเคราะห์พบว่าสามารถจัดอุปลักษณ์เป็นประเภทใหญ่ได้ 3 ประเภท และจำแนกเป็นอุปลักษณ์ย่อยได้ 8 ประเภท ดังนี้ 1) อุปลักษณ์สิ่งมีชีวิต ประกอบด้วยอุปลักษณ์ย่อย 3 ประเภท คือ อุปลักษณ์มนุษย์ อุปลักษณ์พืช อุปลักษณ์สัตว์ 2) อุปลักษณ์สิ่งไม่มีชีวิต ประกอบด้วยอุปลักษณ์ย่อย 4 ประเภท คือ อุปลักษณ์ทรัพย์สิน อุปลักษณ์อาวุธ อุปลักษณ์อาหาร อุปลักษณ์ยารักษาโรค และ 3) อุปลักษณ์ธรรมชาติ
References
จิตติมา จารยพันธ์. (2539). อุปลักษณ์สงครามในข่าวกีฬาในหนังสือพิมพ์ไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชัชวดี ศรลัมพ์. (2543). ทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชาน. ใน เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ภ ๖๐๓ ระบบความหมายในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ดลนภา โง่นใจรัก. (2546). การศึกษาวิเคราะห์อุปลักษณ์เรื่องเพศในห้องสนทนาทางอินเทอร์เน็ต. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
มิรินด้า บูรรุ่งโรจน์. (2548). อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับผู้หญิงในบทเพลงลูกทุ่งไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: นาน มีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.
ศรี อยุธยา . (2546). เอื้อ สุนทรสนาน ดุริยกวีสี่แผ่นดิน. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้ากรุ๊ป.
สุวัฒน์ วรดิลก. (2532). สุนทราภรณ์ ครึ่งศตวรรษ. กรุงเทพฯ: เพื่อนชีวิต.
อุดมลักษณ์ ระพีแสง. (2550). การศึกษาเชิงวิเคราะห์การใช้ภาษาในบทเพลงสุนทราภรณ์ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๘๒ – พ.ศ. ๒๕๒๔. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อุษา พฤฒิชัยวิบูลย์. (2544). การศึกษาอุปลักษณ์เรื่องการเมืองในภาษาไทยตามแนวอรรถศาสตร์ปริ-ชาน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Lakoff, G. (1987). Women, fire, and dangerous things: what categories reveal about the Mind. Chicago and London: The University of Chicago Press.
Lakoff, G. & M. Johnson (1980). Metaphor We Live By. Chicago and London: The University of Chicago Press.
Ungerer, F. & Schmid, H,-J. (1996). An Introduction to Cognitive Linguistics. London: Longman.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)