การเสริมสร้างความสามัคคีในสังคมไทย
คำสำคัญ:
การเสริมสร้างความสามัคคี, ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, การขัดเกลาทางสังคมบทคัดย่อ
ความสามัคคีเป็นคุณธรรมขั้นพื้นฐานที่สำคัญในการหล่อหลอมให้คนในชาติมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และทำให้บ้านเมืองมีความเจริญรุ่งเรือง รอดพ้นจากเพทภัยทั้งปวง ดังนั้นกล่าวได้ว่า ความสามัคคีเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการสร้างและการดำรงอยู่ของประเทศชาติ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาวิธีเสริมสร้างความสามัคคี การเสริมสร้างความสามัคคี เป็นกระบวนการหล่อหลอมให้บุคคลในสังคม มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ก่อให้เกิดพลังในการสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ การเสริมสร้างความสามัคคีมีหลายวิธี เช่น การขัดเกลาทางสังคม การสร้างความปรองดอง การนำหลักการสร้างพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยมาใช้ และการประยุกต์หลักคำสอนทางศาสนามาปฏิบัติ เมื่อสังคมปราศจากความขัดแย้ง จะเกิดความสงบสุข มีความสามัคคี รักใคร่ กลมเกลียว อันนำไปสู่ความเจริญก้าวหน้าและความผาสุกในสังคมไทย
References
จำนงค์ อติวัฒนสิทธิ์. (2543). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชลัท ประเทืองรัตนา. (2560). การสร้างความปรองดอง. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์. (2555). สังคมกับเศรษฐกิจ. ปทุมธานี: พูลสวัสดิ์พับลิชชิ่ง.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2555). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2550). วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วีระ อำพันสุข. (2551). การประยุกต์พุทธธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ B.E.C.
ศิริรัตน์ แอดสกุล. (2556). ความรู้เบื้องต้นทางสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมคิด บางโม. (2558). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: จูนพับลิชชิ่ง.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2551). ธรรมนูญชีวิต ๙ ประการ ตามรอยพระยุคลบาท.กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง.
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2553). ปรองดอง. สืบค้นจาก http://www.royin.go.th/?knowledges
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)