ศึกษามโนทัศน์ที่มีต่อตัวละครผ่านบทเพลงจากวรรณคดีไทย (พ.ศ. 2559 – พ.ศ. 2560)

ผู้แต่ง

  • พิมพ์ชนก นิลวิเวก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • ศุภิสรา ผลอุตสา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • จาระไน สิทธิบูรณะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คำสำคัญ:

มโนทัศน์ที่มีต่อตัวละคร, บทเพลงจากวรรณคดีไทย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามโนทัศน์ที่มีต่อตัวละครผ่านบทเพลงจากวรรณคดีไทยโดยศึกษาจากบทเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับวรรณคดีไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 ถึงปี พ.ศ. 2560 จำนวนทั้งสิ้น 28 บทเพลง ผู้วิจัยได้จำแนกเกณฑ์การแบ่งมโนทัศน์ไว้ 2 ประเภท ได้แก่ มโนทัศน์ด้านบวก และมโนทัศน์ด้านลบ โดยวิเคราะห์จากอุปนิสัยของตัวละครที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง ผลการวิจัยพบว่าจำนวนมโนทัศน์ที่ปรากฏในครั้งนี้มีทั้งสิ้น 139 ครั้ง เป็นมโนทัศน์ด้านบวกมากที่สุดจำนวนทั้งสิ้น 81 ครั้ง และมโนทัศน์ด้านลบน้อยที่สุดจำนวนทั้งสิ้น 58 ครั้ง

References

กลับมาได้ไหม (พระราม). (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/12108

กอบกุล อิงคนนท์. (2546). ศัพท์วรรณกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์รักอักษร.

กาญจนา นาคสกุล และคณะ. (2524). การใช้ภาษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เคล็ดไทย.

แก้วหน้าม้า (ต้องสวยแค่ไหน). (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/13677

ขันหมากล่ม. (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/12389

คนข้างเธอ (เมียทศกัณฐ์). (2560). สืบค้นจาก http://www.lyric.in.th/lyric.php?n=24375

คนหน้าตาไม่ดี ที่เธอยังรัก (เงาะป่า สังข์ทอง). (2559). สืบค้นจาก http://www.lyric.in.th/lyric.php?n=11068

จันทร์จิรา สอนแก้ว. (2551). วิเคราะห์รสบทเพลงจากวรรณคดีไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

จารุวรรณ พุฑฒิบัณฑิต และคณะ. (2543). การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: แสงจันทร์การพิมพ์.

จินตะหราวาตี (คนที่ถูกลืม). (2559). สืบค้นจาก http://lyric.in.th/lyric.php?n=20310&s=artist

ใจไปถึง. (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/13501

ชำนาญ รอดเหตุภัย. (2522). สัมมนาการใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์.

ตราบนิรันดร์. (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/12111

ตะเภาทอง (รับได้ไหม ไม่บริสุทธิ์). (2559). สืบค้นจาก https://www.lyrics.city/2017/04/im-not-a-virgin-girl-can-you-take-it.html

ตัวร้ายที่รักเธอ. (2559). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11246

ธวัช ปุณโณทก. (2545). วิวัฒนาการภาษาไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

ในหนึ่งใจ.. มีหนึ่งเดียว (จากใจสีดา). สืบค้นจาก http://www.lyric.in.th/lyric.php?n=19816

ปรีชา เสือพิทักษ์. (2554). การศึกษาบทบาทของผู้หญิงและผู้ชายในบทละครนอก สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (2325 - 2394). วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปิ่นอนงค์ อำละปะ. (2559). ระบบมโนทัศน์ “เวลา” ของผู้พูดภาษาไทยถิ่นเหนือ. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปิยะ มณีวงศ์. (2544). การเล่าเรื่องและวัจนลีลาในงานประพันธ์เนื้อร้องเพลงไทยสากลของระวกังสนารักษ์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา, มหาวิทยาลัยมหิดล.

เปลื้อง ณ นคร. (2535). ศิลปะแห่งการประพันธ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง.

พรรณทิภา ชื่นชาติ. (2550). วรรณกรรมของกวีหญิงสมัยรัตนโกสินทร์: ศึกษาด้านมโนทัศน์กลวิธีการนำเสนอและอัตลักษณ์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พระราม. (2559). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11270

พระราม (ขอโทษที่หูเบา). (2559). สืบค้นจาก http://www.lyric.in.th/lyric.php?n=35471

พระรามอกหัก. (2559). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11298

พระลักษมณ์ (ผู้เสียสละ). (2559). สืบค้นจาก http://lyric.in.th/lyric.php?n=34286

พิเภก (ทำนายความรัก). (2560). สืบค้นจาก https://nuerpleng.blogspot.com/search/label

มโนราห์ (พระสุธน มโนราห์). (2560). สืบค้นจาก http://chordzaa.blogspot.com/2017/10/10/blog-post_36.html

มัยลา ศรีโมรา. (2538). วิเคราะห์บทเพลงของ สง่า อารัมภีร. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

รอ (นางเงือก). (2560). สืบค้นจาก https://nuerpleng.blogspot.com/2016/06/blog-post_3.html

รักกันที่ตรงไหน (เงาะป่า/สังข์ทอง). (2559). สืบค้นจาก http://lyricry.blogspot.com/2018/03/nonrockshow.html

รักเกินห้ามใจ (ผีเสื้อสมุทร). (2559). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11321

ราชบัณฑิตยสถาน. (2551). พจนานุกรมศัพท์ศึกษา อักษร A – L ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

วราภรณ์ บำรุงกุล. (2542). ร้อยกรอง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ.

ศิวิไล ชูวิจิตร. (2549). การวิเคราะห์การใช้ภาษาในเพลงไทยสากลของบริษัท อาร์.เอส.โปรโมชั่น 1992 จํากัด ช่วงปี พ.ศ. 2542 - 2546. สารนิพนธ์สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุวรรณมัจฉา. (2559). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11309

หนุมาน. (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/13039

หนุมาน (ลมหายใจพลีให้เธอ). (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/13153

หัวใจทศกัณฐ์ (Devil's Heart). (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/13025

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2532). คำจำกัดความศัพท์ในภาษาศาสตร์สังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อลิสา เลี้ยงรื่นรมย์. (2549). ลีลาภาษาในเพลงลูกทุ่งของครูสลา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อวสานรัก. (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/12955

อาญาสองใจ (วันทอง). (2559). สืบค้นจาก http://lyric.in.th/lyric.php?n=20319

อุปกิตศิลปสาร, พระยา. (2544). หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา.

Fin วันทอง. (2559). สืบค้นจาก http://lyric.in.th/lyric.php?n=6660

I'M SORRY (สีดา). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11097

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-12-2019