การเรียนรู้คำศัพท์ด้วยคำปรากฏร่วมจำเพาะ
คำสำคัญ:
คำปรากฏร่วมจำเพาะบทคัดย่อ
การเรียนรู้คำศัพท์เป็นองค์ประกอบที่สำคัญประการหนึ่งในการเรียนรู้ภาษา ไม่ว่าจะเป็นทักษะฟัง พูด อ่าน หรือเขียน การมีคำศัพท์ในคลังสมองมากจะช่วยให้การสื่อสารกับเจ้าของภาษาเป็นไปอย่างถูกต้อง มีความสละสลวยและเป็นธรรมชาติ วิธีการที่น่าสนใจและช่วยให้การเรียนคำศัพท์ประสบความสำเร็จวิธีหนึ่งคือการเรียนรู้คำปรากฏร่วมจำเพาะ ซึ่งคือคำตั้งแต่สองคำที่ใช้ร่วมกัน เจ้าของภาษานิยมใช้และเป็นมาตรฐานหนึ่งในการสื่อสาร ดังนั้นในการเรียนรู้คำศัพท์ จึงควรจดจำคำศัพท์ในลักษณะเป็นกลุ่มคำ หรือคำที่ต้องใช้ร่วมกัน มากกว่าจะจำคำศัพท์ เป็นคำเดียวโดด ๆ
References
Decarrico, J. (2001). Teaching English as a Second or Foreign Language. Boston: Heinle & Heinle.
Firth, J.R. (1957). Modes of meaning. Paper in Linguistics. London: Oxford University Press.
Fox, M. (1998). Teaching Collocations: Further Developments in the Lexical Approach. Hove: Language Teaching Publications.
Hill, J. (2000). Teaching Collocations: Further Developments in the Lexical Approach. in Lewis, M. (Ed.). Grammatical failure to collocational success. (pp.49-60). London: Language Teaching Publications.
McCarthy, M., & O’Dell, F. (2005). English Collocations in Use. New York: Oxford University Press.
Nation, P., & Waring, R. (1997). Vocabulary: Description, Acquisition and Pedagogy.
in N. Schmit, & M. McCarty. (Eds.). Vocabulary size, text coverage and word lists. Cambridge: Cambridge University Press.
Nattinger, J. (1988). Vocabulary and Language Teaching. in R. Carter, & M. McCarty. (Eds.). Some currents in vocabulary teaching. (pp.62-82). London & New York: Longman.
O’Dell, F., & McCarthy, M. (2008). English Collocations in Advance Use. New York: Cambridge University Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)