กลวิธีการใช้ภาษาแสดงความไม่สุภาพในรายการ The Face Men Thailand
คำสำคัญ:
กลวิธีการใช้ภาษา, ความไม่สุภาพ, รายการ The Face Men Thailandบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการใช้ภาษาแสดงความไม่สุภาพในรายการ The Face Men Thailand กรณีศึกษาเฉพาะการสนทนาในห้องคัดออก (elimination room) ซึ่งมีจำนวน 8 ตอน จากทั้งหมด 10 ตอน ผลการศึกษาพบว่าใช้กลวิธีทางภาษาในการแสดงความไม่สุภาพแบบตรงมากกว่าแบบอ้อม ซึ่งกลวิธีการใช้ภาษาแสดงความไม่สุภาพแบบตรงพบ 4 กลวิธี ได้แก่ 1) การตำหนิผู้ฟัง 2) การสั่งให้ผู้ฟังกระทำบางอย่าง 3) การย้ำความผิด และ 4) การนำผู้ฟังไปเปรียบเทียบกับผู้อื่น ส่วนกลวิธีการใช้ภาษาความไม่สุภาพแบบอ้อมพบ 3 กลวิธี ได้แก่ 1) การแนะให้ผู้ฟังรู้ว่ามี ข้อผิดพลาด 2) การประชดประชัน และ 3) การกล่าวโทษผู้อื่นหรือสิ่งอื่น
References
กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และธีรนุช โชคสุวณิช. (2551). วัจนปฏิบัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทิมา สว่างลาภ. (2556). กลวิธีความไม่สุภาพในรายการเรียลลิตี้ โชว์ภาษาไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดียู ศรีนราวัฒน์. (2544). กลวิธีสื่อสารด้วยการพูดอ้อมของคนไทย. วารสารศิลปศาสตร์. 1(2), หน้า 85-101.
นุชนารถ เพ็งสุริยา. (2549). การใช้ภาษาเพื่อแสดงการตำหนิของคนไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์เพื่อการสื่อสาร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. สืบค้นจาก http://www.royin.go.th/dictionary/index.php
สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์. (2549). วัจนกรรมการตักเตือนในภาษาไทย: กรณีศึกษาครูกับลูกศิษย์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2556). ภาษาศาสตร์สังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Brown, P. & Levinson, S. (1978). Universal in language usage: Politeness phenomena. London: Cambridge University Press.
Brown, P. & Levinson, S. (1987). Politeness: Some Universals in Language Usage.Cambridge: Cambridge University.
Sanook. (2560). ครั้งแรกของโลก The Face Men Thailand เผยโฉมเมนเทอร์. สืบค้นจาก https://www.sanook.com/movie/69645/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)