พัฒนาการโครงสร้างและการบริหารราชการส่วนภูมิภาคของไทยตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน
คำสำคัญ:
โครงสร้างการบริหาร, การบริหารราชการ, การบริหารราชการส่วนภูมิภาคบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนพัฒนาการโครงสร้างและการบริหารราชการส่วนภูมิภาคของไทยตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน สาระสำคัญสรุปได้ว่า การบริหารราชการส่วนภูมิภาคใน สมัยกรุงสุโขทัยจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นคือการปกครองหัวเมืองในเขตอาณาจักร จนสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ปฏิรูประบบการปกครองหัวเมืองนำรูปแบบการปกครองเทศาภิบาลมาใช้ดำเนินการบริหารราชการส่วนภูมิภาคโดยจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลและภายในมณฑลประกอบด้วยเมือง (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นจังหวัด) อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ตามลำดับ และให้มณฑลทั้งหมดขึ้นต่อกระทรวงมหาดไทย แล้วภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 มณฑลทั้งหมดถูกยกเลิก และกำหนดให้การบริหารราชการส่วนภูมิภาค คือ จังหวัดและอำเภอ แม้ต่อมามีการจัดตั้งภาคขึ้นแต่ได้ยกเลิกไป ปัจจุบันการบริหารราชการส่วนภูมิภาคของไทยเป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช 2457 ซึ่งในข้อเท็จจริงแล้วสามารถสรุปได้ว่าปัจจุบันการบริหารราชการส่วนภูมิภาคประกอบไปด้วย จังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน
References
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2562). ประกาศกรมการปกครอง เรื่อง แจ้งข้อมูลทางการปกครอง ณ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562. สืบค้นจาก https://www.dopa.go.th/news/cate1/view3800
กิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย. (2561). กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารภาครัฐ. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 8-15. (หน่วยที่ 13). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. (2559). การปกครองของสยามก่อนการปฏิรูปการปกครอง พ.ศ. 2435. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 5(1), หน้า 1-21.
ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2555). การเมืองไทย ระบบที่ไม่มีสูตรสำเร็จรูปในการแก้ปัญหา. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2560). กฎหมายปกครอง. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และปธาน สุวรรณมงคล. (2562). ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า : การบริหารราชการส่วนภูมิภาค. สืบค้นจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=การบริหารราชการส่วนภูมิภาค
ประธาน สุวรรณมงคล. (2560). การปกครองท้องที่ไทย : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต. นนทบุรี: โครงการส่งเสริมการแต่งตำรา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ. (2560). การเมืองการปกครองไทยก่อนพุทธศักราช 2475. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักพื้นฐานการเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 1-7. (หน่วยที่ 2). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พัชรณัฎฐ์ สังข์ประไพ. (2560). การปกครองส่วนภูมิภาค. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์ และธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา. (2559). พัฒนาการการบริหารภาครัฐไทย: จากอดีตสู่อนาคต. ขอนแก่น: วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
มัลลิกา มัสอูดี. (2560). อาณาจักรธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาประวัติศาสตร์ไทย หน่วยที่ 1-7. (หน่วยที่ 5). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มาโนช นามเดช. (2557). แนวคิดและทิศทางของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคของไทย. ใน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (บ.ก.), รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ
เนื่องในโอกาสครบรอบปีที่ 48 แห่งการสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เรื่อง พัฒนบริหารศาสตร์ในบริบทอาเซียน, หน้า 814-824.
เรืองวิทย์ ลิ่มปนาท และอำพิกา สวัสดิ์วงศ์. (2560). การเมืองการปกครองไทยสมัยรัชกาลที่ 4-6. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาประวัติศาสตร์ไทย หน่วยที่ 1-7. (หน่วยที่ 6). นนทบุรี: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2554). วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.
ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล. (2560ก). แคว้นสุโขทัย. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาประวัติศาสตร์ไทย หน่วยที่ 1-7. (หน่วยที่ 3). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล. (2560ข). อาณาจักรอยุธยา. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาประวัติศาสตร์ไทย หน่วยที่ 1-7. (หน่วยที่ 4). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ส่วนงานนิติการ สำนักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2555). กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่นายอำเภอ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อาสารักษาดินแดน.
สุรศักดิ์ ชะมารัมย์. (2559). ลักษณะโครงสร้างและหลักการบริหารราชการไทยในสมัยกรุงสุโขทัย. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 3(3), หน้า 55-62.
เสน่ห์ จุ้ยโต. (2559). การบริหารราชการส่วนภูมิภาค ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารราชการไทย หน่วยที่ 1-7. (หน่วยที่ 7). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)