ค่ายศิลปะเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์

ผู้แต่ง

  • ทองเจือ เขียดทอง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

บทคัดย่อ

ความคิดสร้างสรรค์มีความสำคัญเป็นหนึ่งในทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และนำไปสู่การสร้างนวัตกรรมที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศไทย 4.0 จึงมีความจำเป็นที่จะพัฒนาพลเมืองให้มีความคิดสร้างสรรค์ โดยวิธีการจัดค่ายศิลปะ บทความวิชาการนี้ จึงจะได้นำเสนอถึงองค์ความรู้คือ 1) ความหมายองค์ประกอบ และประเภทของความคิดสร้างสรรค์ 2) ความเป็นมาของการจัดค่ายศิลปะ หรือศิลปะต่าง ๆ กระบวนการจัดค่ายศิลปะ และกิจกรรมที่เหมาะสมกับการจัดค่ายศิลปะ เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งผลการดำเนินการที่ผ่านมาหลายครั้งนั้นเป็นที่พึงพอใจและมีความยั่งยืน

References

เกสร ธิตะจารี. (2534). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (เอกสารอัดสำเนา).

ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2543). กระบวนการสร้างค่ายศิลปะ. กรุงเทพมหานคร: แม็ทส์ปอยท์.

ทวี ลักษมีวัฒนา และกานต์สุดา มาฆะศิรานนท์. (2550). สอนศิษย์ให้เก่ง. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท.

ทองเจือ เขียดทอง. (2545). Creative Camp สรุปกิจกรรมค่ายความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2530). ศิลปะเด็ก สร้างสรรค์ความคิดและจินตนาการ. วารสารวิทยาจารย์, 85: 25-28.

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ กองงานผู้บริหาร. (2557). คู่มือการจัดค่ายกิจกรรม.กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

อารี พันธ์มณี. (2540). ความคิดสร้างสรรค์กับความรู้. กรุงเทพมหานคร : ต้นอ้อ แกรมมี่.

อารี รังสินันท์. (2533). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : ข้าวฟ่าง.

Paufler, A. (2013). Creativity GYM. Bangkok: Nation New Network.

Torrance, E.P. (1969). Guiding Creative Talent. New Delhi: Prentice hall of India Private

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-08-2018