ห้องทดลองรัฐประศาสนศาสตร์
คำสำคัญ:
รัฐประศาสนศาสตร์, ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์, ห้องทดลองรัฐประศาสนศาสตร์บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งอธิบายวิธีการทำความเข้าใจในคำอธิบายเชิงทฤษฎีของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภายใต้ขอบข่ายรัฐประศาสนศาตร์ โดยการนำเอาทฤษฎีมาประยุกต์ใช้หรือผนวกเข้ากับปรากฏการณ์หรือสภาพแวดล้อมของผู้ศึกษา ซึ่งในบทความนี้เรียกว่า ห้องทดลองรัฐประศาสนศาสตร์ เพื่อจะได้ช่วยให้ผู้ศึกษารัฐประศาสนศาสตร์มีช่องทางในการทำความเข้าใจได้มากขึ้นจากเดิมที่มีเพียงแต่ในห้องเรียน หรืออาจจะช่วยให้เกิดความท้าทายในการที่จะนำเอาความรู้ไปสู่การปฏิบัติจริงเพื่อให้องค์ความรู้ได้เกิดเป็นรูปธรรมมากขึ้น
References
กัณญาณัฐ เสียงใหญ่. (2558). แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ สู่การแปรรูปรัฐวิสาหกิจไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. 9(2) หน้า 1.
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ. (2548). การแก้ไขปัญหาความยากจน. ค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2561, จาก https://ryt9.com/s/ryt9/25031
ราชบัณฑิตสถาน. (2555). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ : นานมีบุคส์พับลิเคเชนส์.
วุทธิเมธว์ เกื้อกอบ. (2558). นโยบายสาธารณะ แนวคิด ทฤษฎี กระบวนการนโยบายสาธารณะ และจริยธรรมเชิงนโยบายสาธารณะ. กรุงเทพ : โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
อุทัย เลาหวิเชียร. (2553). รัฐประศาสนศาสตร์: ลักษณะวิชาและมิติต่างๆ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์เสมาธรรม. เฮย์วูด,แอนดรู.(2556). การเมืองคืออะไร? What is Politics? แปลโดย อนุรัตน์ ฝันถึงภูมิ. ค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2561, จาก https://haamak.wordpress.com/2009/11/08/4/
Barnard, I. (1972). The Functions of the Executives. Boston: Harvard University Press. Bridgman & Davis. (2003). The Australian Policy Hand book. 2nd ed. Victoria: McPherson.
Cochran, C.L. & Malone, E.F. (2005). Public Policy: Perspective and Choices. 3rd ed. London:
Lynne Rienner. Hogwood, B.W. and Gunn, L.A. (1984). Policy Analysis for the Real World. United Kingdom:Oxford University Press.
Gredler, M. E. (1997). Learning and instruction: Theory into Practice.3rd ed.NJ: Prentice-Hall.
Pfiffner, J.M. and Mashall, F. (1964). The Supervisor of Personal Human Relations in the Management of Men. New York : Prentice Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)