การพัฒนาข้อสอบเพื่อวัดสมรรถนะทางภาษาอังกฤษของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
คำสำคัญ:
การพัฒนาข้อสอบ, ข้ออสอบภาษาอังกฤษ, การวัดสมรรถนะทางภาษาอังกฤษ, ธนาคารข้อสอบบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาข้อสอบสำหรับวัดสมรรถนะทางภาษาอังกฤษของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 2) หาคุณภาพของข้อสอบ และ 3) จัดเก็บข้อสอบที่มีคุณภาพใน คลังข้อสอบของศูนย์ภาษาสำหรับประเมินความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษา บุคลากรของ มหาวิทยาลัย และประชาชนผู้สนใจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถามประเมิน ประสิทธิภาพของโปรแกรมข้อสอบโดยใช้วิธีการแบบแบล็กบ็อกซ์ แบบตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีจำนวน 686 คน สำหรับประเมิน ประสิทธิภาพโปรแกรมและส าหรับทดลองข้อสอบ 2 ครั้ง นักศึกษาสอบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใน ศูนย์ภาษา วิเคราะห์ข้อสอบหาค่าความยากและค่าอ านาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ โดยวิธีของ คูเดอร์–ริชาร์ดสัน 20 ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษาได้คะแนนเฉลี่ยผลการสอบอยู่ที่ร้อย ละ 29.13 ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์การวัดและประเมินผลร้อยละ 50.00 และมีผู้ผ่านเกณฑ์เพียงร้อยละ 2.19 2) ระบบโปรแกรมแบบทดสอบนี้มีประสิทธิภาพในอยู่ระดับดี และสามารถน าไปใช้ในการทดสอบได้ อย่างเหมาะสม ข้อสอบทั้ง 6 ชุดมีความเที่ยงตรงตามเนื้อหาสูง ข้อสอบ 600 ข้อ มีระดับยากร้อยละ 80.83 และยากมากร้อยละ 19.17 จึงยากสำหรับผู้สอบ อย่างไรก็ดีวัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้อยู่ที่ การพัฒนาข้อสอบวัดสมรรถนะทางภาษาเพื่อวัดความสามารถในการใช้ภาษาที่จำเป็นในอนาคต ผู้วิจัยจึงจำเป็นต้องรักษาระดับของการวัดสมรรถนะทางภาษา 3) ผู้วิจัยจัดเก็บข้อสอบในคลังข้อสอบ 2 ฉบับ มีค่าความเชื่อมั่น 0.84 และ 0.77 รวม 200 ข้อ ผลการวิจัยยังแสดงว่านักศึกษามีสมรรถนะ ทางภาษาอังกฤษในเกณฑ์ต่ า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรก าหนดแผนงานที่ชัดเจนเพื่อเร่งรัดพัฒนา ศักยภาพด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษา
References
ปราณี กุลละวณิชย์. (ม.ป.ป.) การเรียนกำรสอนภาษาต่างประเทศในภาคเหนือและภาคใต้: ชุดโครงกำรนโยบายกำรเรียนกำรสอนภำษำต่ำงประเทศของไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ค้นเมื่อ16 สิงหาคม 2557, จาก http://rescom2006.trf.or.th/display/index.php?id_colum=1005#
ศูนย์ทดสอบทางวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (ม.ป.ป.) การสำรวจความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของบัณฑิตไทย. ค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2557. จาก http://www.bma.go.th/ccwed/news/new76.html-12k
ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ. (2549). รายงานประจำปี 2548 (ตุลาคม 2547–กันยายน 2548) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. ค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2557. จาก http://www.eldc.go.th
สุวรรณี พันธุ์พรึกส์ และ ฌัลลิกา มหาพูนทอง. (2550). การศึกษาความสามารถ ปัญหาและความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (17)3: 66 ค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2557. จาก http://www.thaiscience.info/Journals/Article/TJKM/10680569.pdf
วัลลภ รัฐฉัตรานนท์.(2557). การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการวิจัย. ค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2557. จาก http://www.priv.nrct.go.th/ewt_dl.php?nid=1177
อัจฉรา วงศ์โสธร. (2544). การพัฒนำข้อสอบอิงวัตถุประสงค์แบบอุดม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Council of Europe. (2001). Common European Framework of Reference for Languages: Learning, Teaching, Assessment (CEFR) Retrieved April 29, 2014, from https://rm.coe.int/1680459f97
Commission Européenne. (2007). Plan d'action sur l'apprentissage des langues et ladiversité linguistique. Retrieved April 29, 2014, from http://europa.eu/legislation_summaries/education_training_youth/lifelong_learning/c11068_fr.htm
European Commission. (N.D.). Higher Education Language Policy in Europe: a snapshot of action and trends. Retrieved June 12, 2015, from http://userpage.fuberlin.de/~enlu/downloads/HELP_Snapshot.rtf.
European Commission. (2003). EU language policy. Retrieved June 12, 2015, from: http://ec.europa.eu/education/languages/at-a-glance/doc1458_en.htm
European Commission. (2003). Promoting language learning and linguistic diversity: an action plan 2004-2006. Retrieved June 12, 2015, from http://ec.europa.eu/education/languages/eu-language-policy/doc112_en.htm
Fowler, W. S. and Coe, Norman. (1982). Nelson English Language Test. Walton-onThames, Surrey : Nelson.
Stephen, C. (2000). Text Readability. Retrieved June 12, 2015, from http://plainlanguage.com/newreadability.html
Readabilityformulas.com. (2016). Readability Formulas. Retrieved June 12, 2015, from http://www.readabilityformulas.com/free-readability-formula-tests.php
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)