ความเหมาะสมในการลงโทษบุคคลที่ไม่กระทำหน้าที่พลเมืองดี: ศึกษาประมวลกฎหมายอาญามาตรา 374

Main Article Content

ธาม ชัยนุกูลศิลา

บทคัดย่อ

             บทความนี้นำเสนอการศึกษาความเหมาะสมในการลงโทษบุคคลที่ไม่กระทำหน้าที่พลเมืองดี   โดยพิจารณาถึงดุลยภาพระหว่างสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ทางศีลธรรมไปสู่การแทรกแซงทางกฎหมาย    ซึ่งส่งผลต่อความจำเป็นที่รัฐจะต้องกำหนดให้ทุกคนในสังคมทำหน้าที่เป็นพลเมืองดี มีเมตตาในการให้ความช่วยเหลือแก่เพื่อนมนุษย์ผู้ซึ่งตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิต รวมทั้งให้มีหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือรัฐในการดูแลความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยของคนในสังคม โดยใช้มาตรการบังคับทางอาญา ในการกำหนดให้การละเว้นหน้าที่พลเมืองดีเป็นความผิดและมีบทลงโทษที่มีสภาพบังคับ ทั้งนี้ อาจส่งผลกระทบต่อสิทธิ เสรีภาพของปัจเจกบุคคลในการดำรงชีวิตและการกำหนดการตัดสินใจของตนเองและธรรมจรรยา ซึ่งบทความนี้ได้วิเคราะห์ขอบเขตการใช้และการตีความหน้าที่ตามความจำเป็นในการให้ความช่วยเหลือผู้อื่นตามบทบัญญัติประมวลกฎหมายอาญามาตรา 374 เพื่อให้มีการบังคับใช้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิผลตามเจตนารมณ์ของบทบัญญัติของกฎหมายในบริบทสังคมไทย ให้เกิดประโยชน์ต่อการคุ้มครองความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตของทุกคนในสังคมปัจจุบันอย่างแท้จริง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

1. Chuathai, S. (2010). Principle of Law (Introduction to Public Law). (6). Bangkok, Thailand: Winyuchon. (In Thai)

2. Edward A. Tomlinson. (2000). The French Experience with Duty to Rescue: a Dubious Case for Criminal Enforcement. New York Law School Journal of International & Comparative Law 451. 461.

3. James M. Ratcliffe. (1996). The Good Samaritan and the Law. America: The United States of America.

4. Meenakanit, T. (2016). Criminal Law: Offenses. (13). Bangkok, Thailand: Winyuchon. (In Thai)

5. Meenakanit, T. (2016). Criminal Law: Offenses. (13). Bangkok, Thailand: Winyuchon. (In Thai)

6. Meenakanit, T. (2017). Principle of Criminal Law. (18). Bangkok, Thailand: Winyuchon. (In Thai)

7. Michael A. Menlowe, & Alexander McCall Smith. (1993). The Duty to Rescue the Jurisprudence of Aid. Cambridge: Great Britain at the University Press.

8. Nanakorn, K. (2006). Criminal Law: Offenses. (9). Bangkok, Thailand: Thammasat University. (In Thai)

9. Nanakorn, K. (2011). Principle of Criminal Law. (4). Bangkok, Thailand: Winyuchon. (In Thai)

10. Saengtian, Y. (2008). Criminal Law: Offenses. (3). Bangkok, Thailand: Wittayapat. (In Thai)

11. Saenguthai, Y. (2010). Criminal Law: Offenses. (11). Bangkok, Thailand: Thammasat University. (In Thai)

12. Saenguthai, Y. (2011). Principle of Criminal Law. (21). Bangkok, Thailand: Thammasat University. (In Thai)

13. Vajanasawat, K. (2008). Principle of Criminal Law. (10). Bangkok, Thailand: Pholsiam Printing. (In Thai)

14. Worapat, T. (2015). Law of Prison Sentence. (3). Bangkok, Thailand: Winyuchon. (In Thai)