CHING MU LONG: TRADITIONAL THAI MUSIC PHENOMENOLOGY AND A PERCEPTUAL TRANSITION OF RANAT EK PLAYERS

Authors

  • SANTI UDOMSRI Faculty of Music and Performing Art, Burapha University
  • JARUN KANCHANAPRADIT Faculty of Fine and Applied Arts, Khon Kaen University

Keywords:

Ching mu long, Ranat Ek, Musical Perception, Phenomenology, Traditional Thai Music

Abstract

          The article adopts a phenomenological approach to explain and clarify issues associated with the practice and performance of the traditional Thai composition Ching Mu Long. This piece which is part of a technical repertoire known as ‘Pleng lai mue’ which forms the basis of musical training for ranat ek players. The central questions relate to the subjective experiences of  musicians for whom music and involvement in Thai musical culture is meaningful to their lives. The study illuminates aspects of traditional Thai musical culture and knowledge systems and shows that transformations occur in ranat ek players’ perceptions and skills as a result of serious  practice. The phenomenological perspective helps draw out details of this developmental process as they gain insight into their own performance as a result of extended periods of committed practice. It shows that immersion in practice is essential for a musician to flourish as a musician and reach their musical potential.

References

กรองทอง โพธิยารมย์. “การพัฒนาทักษะการดีดจะเข้ นักเรียนสาขาเครื่องสายไทย (จะเข้) โดยใช้เพลงฉิ่งมุล่ง 7 บันไดเสียง ของรองศาสตราจารย์ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน.” วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2558): 175-199.

ขำคม พรประสิทธิ์. “อัตลักษณ์ของเพลงฉิ่ง.” รายงานการวิจัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.

ชาย โพธิสิตา. ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งฯ, 2554.

ไชยยะ ทางมีศรี. “การไล่ระนาด.” สัมภาษณ์โดย สันติ อุดมศรี. 27 กรกฎาคม 2563.

ถาวร ศรีผ่อง. “การไล่ระนาด.” สัมภาษณ์โดย สันติ อุดมศรี. 26 กรกฎาคม 2563.

บุญช่วย โสวัตร. “เดี่ยวระนาด เพลงฉิ่งมุล่ง.” สัมภาษณ์โดย สันติ อุดมศรี. 20 มกราคม 2555.

ประชา สามเสน. “การไล่ระนาด.” สัมภาษณ์โดย จรัญ กาญจนประดิษฐ์. 21 กรกฎาคม 2563.

ประชากร ศรีสาคร. “แนวคิดการผูกสำนวนกลอนซออู้เพลงฉิ่งมุล่งชั้นเดียว กรณีศึกษารองศาสตราจารย์พิชิต ชัยเสรี.” วารสารศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563): 75-95.

ประโยชน์ ทางมีศรี. “ไล่ระนาดฉิ่งมุล่ง.” สัมภาษณ์โดย สันติ อุดมศรี. 24 กรกฎาคม 2563.

มนตรี ตราโมท และวิเชียร กุลตัณฑ์. ฟังและเข้าใจเพลงไทย. กรุงเทพฯ : ศิลปะสนองการพิมพ์, 2540.

วิเชียร อ่อนละมุล. “การไล่ระนาด.” สัมภาษณ์โดย สันติ อุดมศรี. 24 กรกฎาคม 2563.

สมภาร พรมทา. “การวางรากฐานปรากฏการณ์วิทยาโดยฟรานซ์ เบรนทาโน.” https://www.youtube.com/watch?v=LsT357D-jro/การวางรากฐานปรากฏการณ์วิทยาโดยฟรานซ์เบรนทาโน.

หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง). “ศรทอง” ประชุมผลงานการประพันธ์ของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง). กรุงเทพฯ : มติชน, 2526.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. อัตลักษณ์: การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด. เชียงใหม่ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2561.

Downloads

Published

2021-06-28

Issue

Section

บทความวิชาการ | Academic Article