การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานที่เชื่อมโยงการบูรณาการข้ามศาสตร์ ในห้องเรียนของครูสังคมศึกษา

Main Article Content

วิภาพรรณ พินลา
วิภาดา พินลา

บทคัดย่อ

การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ที่เชื่อมโยงการบูรณาการข้ามศาสตร์ในห้องเรียนของครูสังคมศึกษา โดยกระตุ้นให้ผู้เรียนร่วมกันสังเกตปรากฏการณ์ที่สนใจ และพบได้ในโลกแห่งความเป็นจริงในเชิงสหวิทยาการ เพื่อนำไปสู่การอภิปรายกลุ่มร่วมกันในมุมมองที่กว้างขึ้น ตลอดจนให้ผู้เรียนทราบประเด็นความสนใจ ปัญหา และตั้งข้อสงสัยภายใต้บริบทของปรากฏการณ์ที่สังเกตได้ โดยมีขั้นตอนกระบวนการ 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 เลือกปรากฏการณ์สังคมที่น่าสนใจ ขั้นที่ 2 สังเกตปรากฎการณ์สังคมร่วมกัน ขั้นที่ 3 สืบค้นข้อมูลปรากฏการณ์สังคม ขั้นที่ 4 ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ขั้นที่ 5 นำเสนองานและสะท้อนคิด และขั้นที่ 6 ประเมินตามสภาพจริง โดยแต่ละขั้นตอนสามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนในกลุ่ม การได้ลงมือปฏิบัติและการเรียนรู้ร่วมกัน อันนำไปสู่การต่อยอดองค์ความรู้และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของผู้เรียนแต่ละคนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

Article Details

บท
บทความทางวิชาการ

References

ตะวัน ไชยวรรณ และกุลธิดา นุกูลธรรม. (2564). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน : การ เรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อส่งเสริมความรู้ของผู้เรียนในโลกแห่งความจริง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 15(2), 251-263.

พงศธร มหาวิจิตร. (2560). นวัตกรรมการศึกษาจากฟินแลนด์. นิตยสาร สสวท, 42(209), 40-45. พรศักดิ์ สุจริตรักษ์ และคณะ. (2564). การประเมินหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง. วารสารสิรินธร ปริทรรศน์, 22(1), 338-349.

วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2564). ประมวลสาระชุดวิชาหน่วยที่ 1 สารัตถะและวิทยวิธีทางสังคมศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อรพรรณ บุตรกตัญญู. (2561). การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อสร้างมุมมองแบบองค์รวมและ การเข้าถึงโลกแห่งความจริงของผู้เรียน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 46(2), 348-365.

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา. (2550). รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการคุณค่าความเป็นมนุษย์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 30(1), 1-10.

Anthony J. Ryals. (2012). The recognition without cued recall phenomenon: Support for a feature-matching theory over a partial recollection account. Journal of Memory and Language, 66(4), 747-762.

Bente Borthne Hvidsten. (2021). Counsellors perceptions of the phenomenon of concentration difficulties. Support for Learning, 36(1), 84-101.

Brugar K.A. & Whitlock A.M. (2020). Explicit and Implicit Social Studies: Exploring the Integration of Social Studies Experiences in Two Elementary Classrooms. Canadian Social Studies, 51(1), 1-21.

Daehler, K., and Folsom, J. (2016). Making Sense of SCIENCE: Phenomena-Based Learning. Retrieved from: https://we-mss.weebly.com/ uploads/8/6/4/9/8649828/mss_ phenomena- based_learning.pdf

Eşref AKKAŞ and Cevat EKER. (2021). The effect of phenomenon-based learning approach on students' metacognitive awareness. Educational Research and Reviews Educ, 16(5), 181-188.

Kriengkrai Sakulprasertsri. (2017). Flipped Learning Approach: Engaging 21st Century Learners in English Classrooms. LEARN Journal Language Education and Acquisition Research Network Journal, 10(2), 132-143.

Marjaana Kangasa and Päivi Rasi. (2021). Phenomenon-Based learning of multiliteracy in a Finnish upper secondary school. Retrieved November 23, 2021, from https://doi.org/10.1080/25741136.2021.1977769

Nektaria Adaktylou. (2020). Remote Sensing as a Tool for Phenomenon-Based Teaching and Learning at the Elementary School Level: A Case Study for the Urban Heat Island Effect. International Journal of Educational Methodology, 6(3), 517-531.

Organization for Economic Cooperation and Development. (2021). PISA 2021, Results in Focus. https://www.oecd.org/pisa/pisa-2021- results-in-focus.pdf

Pamela Heidlebaugh-Buskey. (2013). A multiple case study on the phenomenon of Culturally responsive pedagogy in rural western North Carolina. Western Carolina University.

Sara Georgina Solórzano. (2013). Educating Latino immigrant students: The phenomenon of teaching Latino immigrant elementary students in Indiana. Purdue University West Lafayette, Indiana.

Silander, P. (2015). Rubric for Phenomenon Based Learning. Retrieved November 29, 2021, From http://nebula.wsimg.com/c58399e5d05e6a656d6e74f40b9e0c09?AccessKeyId=3209BE92A5393B603C75&disposition=0&alloworigin=1

Wakil, K., Rahman, R. & Hasan, D. (2015). Phenomenon-Based Learning for Teaching ICT Subject through other Subjects in Primary Schools. Journal of Computer and Education Research, 7(13), 205-212.