การพัฒนาการอ่านเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองในยุคดิจิทัล

Main Article Content

ศึกษา เรืองดำ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ วิธีการและกลยุทธ์ที่สัมพันธ์และสอดรับกับการพัฒนาการอ่าน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน โดยใช้การอ่านเพื่อการเรียนรู้ (Reading to Learn) ประกอบด้วยสาระสำคัญ ได้แก่ การเรียนรู้เพื่อการอ่านและการอ่านเพื่อการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้กับการอ่าน การอ่านกับการสร้างความหมายใหม่ในการเรียนรู้ การอ่านเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และกลยุทธ์การอ่านให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาการอ่านและยกระดับศักยภาพการเรียนรู้ด้วยตนเองในระดับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

Article Details

บท
บทความทางวิชาการ

References

ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2561). การออกแบบการเรียนแนวดิจิทัล. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชัยฤทธิ์ โพธิสุวรรณ. (2543). การเรียนรู้จากประสบการณ์ การเรียนรู้โดยการชี้นำตนเองและการสร้างสรรค์ความรู้: มุมมองทางการศึกษานอกระบบ. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 15(2), 9-19.

ชุติกาญจน์ บุญอยู่ และคณะ. (2552). การอ่านและเขียนเชิงวิชาการ. ปัตตานี: ปัตตานีการช่าง.

ชุมศักดิ์ อินทรรักษ์. (2559). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 14 (1), 94-98.

ทิศนา แขมมณี. (2548). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประสิทธิ์ กาพย์กลอน. (2543). ภาษากับความคิด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พาสนา จุลรัตน์. (2556). เมตาคอกนิชันกับการเรียนรู้. วิชาการศึกษาศาสตร์, 14(1), 1-16.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). ข้อค้นพบจาก PISA 2018: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการประเมินด้านการอ่าน [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. Focus ประเด็นจาก PISA, 55 (กรกฎาคม), 1-4. https://pisathailand.ipst.ac.th/issue-2020-55/

ศักดิ์ดา เปลี่ยนเดชา, กิตติชัย สุธาสิโนบล, ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ และ ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร. (2561). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้การอ่านเชิงรุกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านเชิงรุกและความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. วิชาการศึกษาศาสตร์, 19 (1), 218-233.

สมพิส หาญมนตรี, ธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์ และ จุมพล พูลภัทรชีวิน. (2558). กรอบหลักสูตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะของเด็กไทยในอนาคต (พ.ศ. 2558-2577). วิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา, 13(1), 1-13.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

อติพร เกิดเรือง. (2560). การส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อรองรับสังคมไทยในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 6(1), 173-184.

Baron, N.S. (2017). Reading in a digital age. Phi Delta Kappan, 99(2), 15-20.

Beiderwell, Bruce John, Tse, Linda F., Lochhaas, Thomas A. and DeKanter, Nicholas B. (2012). Reading to Learn. Success in College, V.1.0, 219-257. Retrieved from https://2012books.lardbucket.org/pdfs/success-in-college.pdf

Bernadette van Hout-Wolters, Robert Jan Simons and Simone Volet. (2002). Active Learning: Self-Directed Learning and Independent work in Robert Jan Simons, Jos van der Linden and Tom Duffy, New Learning, (p. 21-36). New York: Kluwer Academic Publishers.

Charlotte Silen & Lars Uhlin. (2008). Self-Directed Learning-a Learning issue for student and faculty. Teaching in Higher Education, 13(4), 461-475.

Dominic W. Massaro. (2014). Language and Information Processing in Understanding Language: An Information Processing Analysis of Speech Perception in Reading and Psycholinguistics. New York: Academic Press.

Emerald Dechant. (2013). Understanding and Teaching reading: An Interactive Model. New York: Routledge.

Ermawati, Nasmilah Yunus and Abidin Pammu. (2017). The Implementation of Inquiry-Based Learning to Reading Comprehension of EFL Students. International Journal of Science and Research (IJSR), 6(3), 1067-1071.

Hiemstra, R. (1994). Self-directed learning. In T. Husen & T. N. Postlethwaite (Eds.), The International Encyclopedia of Education (second edition). Oxford: Pergamon Press.

Hiemstra, R., and Brockett, R. G. (2012). Reframing the Meaning of Self-Directed Learning: An Updated Model Adult Education Research Conference. Retrieved from https://newprairiepress.org/aerc/2012/papers/22

James S. Damico, Gerald Campano and Jerome C. Harste. (2009). Transactional theory and critical theory in reading comprehension in Handbook of Research on Reading Comprehension. New York: Routledge.

John T. Guthrie and Allan Wigfield. (2009). Engagement and Motivation in reading in Handbook of Reading Research. New York: Routledge.

Maurice Gibbons. (2002). The Self-Directed Learning Handbook Challenging Adolescent Student to Excel. San Francisco: Jossey-Bass.

Orlando Lourenço. (2012). Piaget and Vygotsky: Many resemblances and a crucial difference. New Ideas in Psychology, 30, 281-295.

Pearson. (2009). Literacy in the 21st Century [Electronic data]. Retrieved from https://www.pearsonhighered.com/

Shuying An. (2013). Schema Theory in Reading. Theory and Practice in Language Studies, 3(1), 130-134.