ครูสังคมศึกษากับการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล

Main Article Content

ฐากร สิทธิโชค
วิทวัส นิดสูงเนิน

บทคัดย่อ

       บทความนี้มุ่งศึกษาครูสังคมศึกษากับการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล โดยศึกษาจากบริบททางพลวัต ของการจัดการเรียนรู้ของครูสังคมศึกษาในยุคดิจิทัล โดยใช้ระเบียบวิธีและการเก็บข้อมูลในการศึกษาทางสังคมศาสตร์
       ผลการศึกษาพบว่าการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ครูเป็นปัจจัยหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน สำหรับบทบาทสำคัญของครูสังคมศึกษาในการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลต้องอาศัยกระบวนทัศน์การจัดการเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับยุคสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยอาศัยการเรียนรู้ การออกแบบ การวางแผน การปฏิบัติ การใช้เทคโนโลยี นำไปสู่การทบทวนผลจากการปฏิบัติ และร่วมรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนองค์ทัศคติ ส่วนการจัดการเรียนรู้สามารถนำเอาวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนรู้ต้องตระหนักถึงผลจากการจัดการเรียนรู้ต้องอาศัยการดำเนินการต้องตระหนักการเป็นตามแบบอย่างที่ดี การมีคุณธรรม จริยธรรมซึ่งเป็นองค์ประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนก้าวทันเทคโนโลยีและมีคุณธรรม

Article Details

บท
บทความทางวิชาการ

References

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557). เพื่อความเป็นผู้นำของการครุศึกษาไทย : รวมบทบรรยายและบทความ.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2561). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2557). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. นครปฐม: ส. เจริญการพิมพ์ จำกัด.

วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (2557). อาชีพในอนาคต. กรุงเทพฯ: การศึกษา.

สมชาย อุ่นแก้ว. (2560). การจัดการเรียนรู้ STEM EDUCATIONAL. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2558). ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี: การนำเทคโนโลยีสู่ห้องเรียนและโรงเรียน ในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16(4): 216-224.

วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2557). การศึกษาแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์.

สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). แนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นสมรรถนะทางสาขาวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

อังคณา ตุงคะสมิต และ ลัดดา ศิลาน้อย. (2557). การพัฒนารูปแบบกระบวนการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเปิด (Open Approach) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมมศาสตร์, 5(3) : 1-14.

อดิศร ศักดิ์สูง. (2558). พลวัตสังคมไทยและสังคมโลก. สงขลา: นำศิลป์.

Marc. D.J. (2010). Behavior: The Management of Individual and Organizational Performance (2nd ed.). Boston: Allynand bacon.

Sheninger. E.R. (2014). Transforming Your School with Digital Communication, Retrieved April 7, 2015, From http://www.ascd.org/publications/educationalleadership/apr15/vol72/num07/Transforming-Your-School-with-DigitalCommunication.aspx. Search Day : 1 Feb 2020.