ความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

Main Article Content

วรรณากร พรประเสริฐ
รักษิต สุทธิพงษ์

บทคัดย่อ

     การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และเปรียบเทียบความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ จำแนกตามเพศ ชั้นปีที่ศึกษา และกลุ่มคณะวิชา กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ จำนวน 950 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (multi-stage random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดความเป็นพลเมืองดิจิทัล มีลักษณะเป็นแบบวัดเชิงสถานการณ์ (situational test) 4 ตัวเลือกเชิงพฤติกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ การทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระ (t-test independent) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA)


     ผลการวิจัยพบว่า


     1) นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ มีความเป็นพลเมืองดิจิทัลอยู่ในระดับดี จำนวน 249 คน คิดเป็นร้อยละ 26.21 ระดับพอใช้ จำนวน 338 คน คิดเป็นร้อยละ 35.58 และระดับปรับปรุง จำนวน 363 คน คิดเป็นร้อยละ 38.21


     2) ความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ เมื่อเปรียบเทียบตามเพศ ชั้นปีที่ศึกษา และกลุ่มคณะวิชา พบว่ามีความเป็นพลเมืองดิจิทัลไม่แตกต่างกัน

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

วรรณากร พรประเสริฐ, 0868010353

อาจารย์ ดร., สาขาวิชาการศึกษา วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

19, หมู่ 2 ซอย 6 ตำบล แม่กา อำเภอเมืองพะเยา พะเยา 56000

รักษิต สุทธิพงษ์, วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร., สาขาวิชาการศึกษา วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

19, หมู่ 2 ซอย 6 ตำบล แม่กา อำเภอเมืองพะเยา พะเยา 56000

References

1. กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
2. คณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561- 2580). เอกสารประกอบการประชุมประจำปี 2561 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, กันยายน 2561.
3. ราชกิจจานุเบกษา. (2560). พระราชบัญญัติ การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560. เล่มที่ 134 ตอนที่ 10 ก, 24 มกราคม 2560, หน้า 1-23.
4. วรรณากร พรประเสริฐ, เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย, ปกรณ์ ประจันบาน และน้ำทิพย์ องอาจวาณิชย์. (2562). การพัฒนาแบบวัดและเกณฑ์ปกติความพลเมืองดิจิทัลของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
5. วรรณากร พรประเสริฐ, เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย, ปกรณ์ ประจันบาน และน้ำทิพย์ องอาจวาณิชย์. (2563). การพัฒนาแบบวัดและเกณฑ์ปกติความพลเมืองดิจิทัลของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 22(3), อยู่ในระหว่างรอตีพิมพ์.
6. ศิวพร ปกป้อง และวิมลทิพย์ มุสิกพันธ์. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมการกระทำความรุนแรงทั้งทางกายและการข่มเหงรังแกผ่านโลกไซเบอร์ของเยาวชนไทย. รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.
7. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2574). (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
8. สำนักงานสถิติแห่งชาติ, กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2561). สรุปผลที่สำคัญ สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2560 (ไตรมาส 1). กรุงเทพฯ: กองสถิติพยากรณ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
9. Berardi, Ryan P. (2015). Digital Citizenship: Elementary Educator Perceptions and Formation of Instructional Value and Efficacy. Doctor of Education, Immaculata University.
10. Boyle, C. J. (2010). The Effectiveness of a Digital Citizenship Curriculum in an Urban School. Doctor of Education, Johnson & Wales University.
11. Castells, M. (2000). Communication Power. New York : Oxford University Press.
12. Eric, S., and Jared, C. (2014). The New Digital Age: Reshaping the Future of People, Nations and Business. London, UK: John Murray.
13. Gazi, Z. A. (2016). Internalization of Digital Citizenship for the Future of All Levels of Education. Education and Science Journal, 41(186), 137-148.
14. International Society for Technology in Education. (2007). National Educational Technology Standards for Student. (2nd ed.). Eugene, OR: International Society for Technology in Education.
15. Jones, C. and Shao, B. (2011). The Net Generation and Digital Natives: Implications for Higher Education. The Open University.
16. Kingsmill, T. J. (2016). The Experience of Digital Citizenship in a Secondary School Curriculum. Doctor of Education, Australian Catholic University.
17. Pescetta, M. (2011). Teaching Digital Citizenship in a Global Academy. Doctor of Philosophy, Nova Southeastern University.
18. Ribble, M. (2011). Digital Citizenship in School. (2nd Ed). Eugene, Oregon: The International Society for Technology in Education.
19. Snyder, Shabe E. (2016). Teachers’ Perceptions of Digital Citizenship Development in Middle School Students Using Social Media and Global Collaborative Projects. Doctor of Education, Walden University.
20. Suppo, C, A. (2013). Digital Citizenship Instruction in Pennsylvania Public Schools: School Leaders Expressed Beliefs and Current Practices. Doctor of Education, Indiana University of Pennsylvania.