การศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาพฤติกรรมด้านเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ ในเด็กปฐมวัยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
คำสำคัญ:
สภาพและความต้องการจำเป็น, พฤติกรรมด้านเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ในเด็กปฐมวัยบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาสภาพและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาพฤติกรรมด้านเอ็กเซ็ก
คิวทีพฟังก์ชันสในเด็กปฐมวัยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลสงคราม 2) ประเมินความต้องการจำเป็น
ของการพัฒนาพฤติกรรมด้านเอ็กเซ็กคิวที่พฟังก็ชันส์ในเด็กปฐมวัยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลส่งคราม กลุ่มเป้าหมายเป็น ผู้บริหาร คณะครูผู้สอนระดับปฐมวัย และผู้ปกครอง สังกัดโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รวมจำนวน 51 คน ได้จากการสุ่มแบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามมีลักษณะแบบมาตราส่วนประมาณ 5 ระดับ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะเอ็กเซ็กคิวที่ฟฟังก็ชันสในเต็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย และค่าเบียงเบนมาตรฐาน และการจัดลำดับความต้องการจำเป็นด้วยวีธี Priority Needs Index PNIm แบบปรับปรุง
ผลการวิจัย พบว่า
1. สภาพและความต้องการจำเป็นในการทัฒนาพฤตึกรรมด้านเอ็กเช็กคิวที่พฟังก์ชั่นสในเด็กปฐมวัยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามในภาพรวมทุกต้าน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับป่านกลาง (M=3.44, S=.80) โดยเรียงค่าเฉลี่ยรายต้านตามลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการควบคุมอารมณ์ (M= 3.83, S=.87) รองลงมา คือ ด้านความจำขณะทำงาน (M- 3.72, S=.74) รองลงมา คือ ด้านการยึดหยุ่นความคิด (M=3.35, S=.83) รองลงมา คือ ด้านวางแผนจัดการ (M =3.18, S=.76) รองลงมา คือ ด้านการยับยั้งการหยุด (M= 3.13, S=.80) ตามลำดับ
2. ผลประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาพฤติกรรมด้านเอ็กเซ็กคิวที่ฟฟังก์ชันสในเด็กปฐมวัยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม พบว่าผู้นริหาร ครู และผู้ปกครองมีความต้องการที่จะพัฒนาพฤติกรรมด้านเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ในเด็กปฐมวัย ในภาพรวมทุกด้านมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด
พบว่ามีค่า PN โดยจัดลำดับความสำคัญตามลำดับจากสูงไปต่ำ ดังนี้ 1) ด้านการยับยั้ง การหยุด (PNIm =.50)
2) ด้านการวางแผนจัดการ (PNIm = .50) 3 ด้านการควบคุมอารมณ์ (PNIm. -.40) 4) ด้านความจำขณะทำงาน (PNIm. -.28) ตามลำดับ
References
ขวัญฟ้า รังสิยานนท์. (2535). การเปรียบเทียบความสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่ได้จากการฟังนิทานด้วยการเล่าโดยใช้หุ่นกับรูปภาพ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉันทนา ภาคบงกช. (2554). ความคิดสร้างสรรค์เพื่อแผ่นดิน: ความคิดสร้างสรรค์ แก้ปัญหาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล และคณะ. (2559). การพัฒนาและหาค่าเกณฑ์มาตรฐานเครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล, บรรณาธิการ, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานครฯ: ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์
สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล, มหาวิทยาลัยมหิดล. 2560. 229)
ประสิทธิ์รักษ์ เจริญผล. (2547). ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ต่อเติมด้วยลายเส้น. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พิสณุ ฟองศรี. (2552). วิจัยชั้นเรียน : หลักการและเทคนิคปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด.
เลิศ อานันทนะ. (2529). วิทยากับพฤติกรรมการแสดงออกของเด็กปฐมวัย, ศิลปะเด็ก : ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ., สมพงษ์ ทิมแจ่มใส่, บรรณาธิการ, กรุงเทพฯ: อมรินทร์ การพิมพ์. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560-2579). ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12. สิ่งพิมพ์สกศ. อันดับที่ ๑๐/2560. พิมพ์ครั้งที่1. มีนาคม 2560. ผู้จัดพิมพ์เผยแพร่ สำนักงานเลขาธิการสภาการการศึกษา.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์. (2541). เทคนิคการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
โณทัย อุดมบุญญานุภาพ. (2537). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เด็กก่อนประถมศึกษาโดยใช้เครื่องเล่นอิสระ กระดานกระดาษทรายและไหมพรมหลากสี. การวิจัยทางการศึกษา. 24, 12-29.
อารี รังสินันท์ (2532). ความคิดสร้างสรรค์กับการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Anderson, P. (2002).Assessment and development of executive function (EF) during childhood. Child Neuropsychol. 8(2): 71-82.
Anderson, V. (2002). Executive function in children: introduction. Child Neuropsychol 8(2): 69-70.
Baddeley, A. (1998). The central executive: a concept and some isconceptions. J Int Neuropsychol Soc. 4(5): 523-526.
Baddeley, A. and S. Della Sala (1996). Working memory and executive control. Philos Trans R Soc Lond B Biol Sci. 351(1346): 1397-1403; discussion 1403-1394.
Dawson, P., and Guare, R. (2009). Smart but scattered: The revolutionary Executive Diamond A. Executive functions. Annu Rev Psychol 2013; 64: 135-68.
Dawson, P., and Guare, R. (2014). Interventions to promote executive development inchildren and adolescents. In Handbook of executive functioning, 427-443.
Diamond, M., and Hopson, J. (1998). Magic tree of the mind: How to nurture your child’s intelligence, creativity, and healthy emotions from birth through adolescence. New York: (n.p.).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสารครุพิบูล

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์เป็นของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม