ภาวะผู้นำกับการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำ, การบริหารสถานศึกษา, ยุคดิจิทัลบทคัดย่อ
การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมในปัจจุบัน ส่งผลให้ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและรูปแบบการบริหารสถานศึกษาเปลี่ยนแปลงไป เทคโนโลยีที่ทันสมัยในยุคดิจิทัลเข้ามามีบทบาทในการบริหารงานในสถานศึกษา ผู้บริหารจึงควรเตรียมความพร้อมและตั้งรับกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน จากการศึกษาทบทวนแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำกับการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล พบว่า ผู้บริหารจำเป็นต้องมีการพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถและภาวะความเป็นผู้นำในยุคดิจิทัลให้มากยิ่งขึ้น ผู้บริหารต้องมีการปรับตัว ปรับกลยุทธ์ และวิสัยทัศน์ให้กว้างไกล ยอมรับเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ในกระบวนการทำงานภายในสถานศึกษาและรู้จักการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอย่างหลากหลาย เพื่อให้การบริหารงานบรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ทั้งด้านผู้เรียน ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนการบริหารงานบุคคล รวมถึงสนับสนุนและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถเพื่อพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ผ่านแนวทางการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลดังนี้ 1) การมีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล 2) การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารงานโรงเรียนทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารทั่วไป ด้านการบริหารบุคคล ด้านการบริหารวิชาการ และด้านการบริหารงบประมาณ 3) การส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน และ 4) การมีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และสารสนเทศ
References
กะรัต ทองใสพร และคณะ. (2566) ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. Journal of Institute of Trainer Monk Development, 6(2), 261-270.
จิรพล สังข์โพธิ์, สุวรรณ จันทิวาสารกิจ, และ เสาวณีย์ อยู่ดีรัมย์. (2560). ภาวะผู้นำในการบริหารยุคดิจิทัล: องค์การไอทีและองค์การที่เกี่ยวข้องกับไอทีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จิณณวัตร ปะโคทัง. (2561). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัล สำหรับผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ. อุบลราชธานี: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
จุฬาลักษณ์ โสระพันธ์. (2566, 10 พฤศจิกายน). บทบาทของผู้บริหารการศึกษายุคดิจิทัล. https://adacstou.wixsite.com/adacstou/single-post/
ชญานิศ โฆษิตพิมานเวช, และ เอกราช โฆษิตพิมานเวช. (2566). สถานศึกษาเอกชนยุคดิจิทัล. วารสารมณีเชษฐาราม วัดจอมมณี, 6(5), 578-597.
ไชยา ภาวะบุตร. (2565). ภาวะผู้นำทางวิชาการ (Academic leadership ) (ฉบับปรับปรุง). สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2560). ภาวะผู้นำทางการบริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนกฤต พราหมณ์นก. (2560). การศึกษาองค์ประกอบด้านภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. ศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 17(1), 43-53.
นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล. (2558). เด็กยุคดิจิทัล. วารสารสารานุกรมศึกษาศาสตร์, 50, 79-83.
ปุณณิฐฐา มาเชค. (2562). การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพในยุค 4.0 (ศตวรรษที่21). วารสารศึกษาศาสตร์ มมร.คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 7(2), 41-52.
ปัณณทัต กาญจนะวสิต. (2561). โลกยุค 4.0 World 4.0. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขานุการกองทัพบก.
พัชรา วาณิชวศิน. (2560). การพัฒนาภาวะผู้นำ: จากทฤษฎีสู่แนวปฏิบัติที่ดีและกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ปัญญาชน.
พิชญ์สินี มะโน. (2562). ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในยุค digital disruption ต่อการศึกษา. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 18(1), 1-6.
รัตนาภรณ์ วัชรอัตยาพล. (2563). ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร [ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย].
รุ่งรัตน์ พลชัย. (2563). ภาวะผู้นำกับการบริหารในยุคดิจิทัล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1(3), 53-62.
รุจาภรณ์ ลักษณะดี. (2565). ภาวะผู้นำการดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาในสหวิทยาเขตบ้านบึง 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกริก].
เลอศักดิ์ ตามา, และ สุมาลี ศรีพุทธรินทร์. (2563). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22. วารสารรัชต์ภาคย์, 15(38), 224-240.
สงบ อินทรมณี. (2562). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 16(1), 353-360.
สัมมา รธนิธย์. (2560). หลักทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภัค ยมพุก, และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2558). การบริหารสถานศึกษาและการรับรู้การสนับสนุนการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มที่ 4. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2566, 20 พฤศจิกายน). Digital literacy Project. https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp
Candoli, I. C., Hack, W. G., Ray, J. R., & Stollar, D. (1992). School business administration: A planning approach (4th ed.). Massachusetts: Allyn and Bacon.
Good, C. V. (1973). Dictionary of education (3rd ed.). New York: McGraw-Hill.
Nak Ai, N. (2006). The factors of E-leadership characteristics and factors affecting E-leadership effectiveness for basic education principals [Doctoral dissertation, Srinakharinwirot University].
Prensky, M. (2012). From digital natives to digital wisdom: Hopeful essays for 21st century learning. Corwin Press.
Yukl, G. A. (2006). Leadership in organizations. UK: Prentice-Hall International.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution 4.0 International License.
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา