กระบวนการอนาคตศึกษาเพื่อออกแบบการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เชิงสร้างสรรค์
คำสำคัญ:
อนาคตศึกษา, การเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์, การคิดเชิงอนาคต, การออกแบบการเรียนรู้ประวัติศาสตร์บทคัดย่อ
อนาคตศึกษาเป็นกระบวนการที่ดำเนินการอย่างเป็นระบบเพื่อคาดการณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต มีอยู่ด้วยกัน 6 ขั้นตอน คือ 1.การกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะทำการศึกษา 2.การสร้างภาพอนาคตที่เป็นไปได้ด้วยทักษะความคิดสร้างสรรค์ 3.การจัดลำดับองค์ความรู้ เพื่อจัดลำดับความสำคัญหรือความน่าจะเป็นของข้อมูลหรือเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 4.การตีความเพื่อแปลความหมายของข้อมูลเพื่อนำไปกำหนดทิศทางของการศึกษาอนาคต 5.การกำหนดแนวทางหรือแผนของอนาคต และ 6.การให้ข้อเสนอแนะย้อนกลับเพื่อทบทวนความถูกต้องของการคาดการณ์อนาคต อนาคตศึกษาสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์เนื่องด้วยวิชาประวัติศาสตร์ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในช่วงระยะเวลาหนึ่งในอดีต อันเป็นรากฐานของปัจจุบันที่จะสามารถฉายภาพแนวโน้มของอนาคตที่อาจเกิดขึ้นจริงได้
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2504). หลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.ศ.4-5-6) พุทธศักราช 2503. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2535). หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533). พระนคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545). การคิดเชิงอนาคต. กรุงเทพฯ: บริษัทซัคเซส มีเดีย จำกัด.
ชรินทร์ มั่งคั่ง. (2559). อนาคตวิทยาทฤษฎีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา. เชียงใหม่: ไดมอนด์กราฟิกกรุ๊ป.
นาฏวิภา ชลิตานนท์. (2524) ประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย. กรุงเทพฯ: ลิ้นจี่การพิมพ์.
นาตยา ปิลันธนานนท์. (2526). อนาคตศาสตร์. กรุงเทพฯ: พีระพัธนา.
นาตยา ปิลันธนานนท์ และคณะ. (2542). การศึกษาตามมาตรฐานแนวคิดสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แม็ค.
นิธิ เอียวศรีวงศ์ และอาคม พัฒิยะ. (2525). หลักฐานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บรรณกิจเทรดดิ้ง.
วิภาดา พินลา. (2560). เทคนิคการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์สำหรับครูสังคมศึกษาในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 21. วารสารปาริชาต, 30(2), 1-19.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). คู่มือการมองอนาคต. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรมตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
สงวน ช้างฉัตร. (2524). การพยากรณ์อนาคตกับการวางแผนการศึกษา. วารสารมิตรครู, 4, 44-46.
อภิวัฒน์ รัตนวราหะ. (2563). อนาคตศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). เชียงใหม่: หจก.ล๊อคอินดีไซน์เวิร์ค.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา