การพัฒนาทักษะลีลาศจังหวะชะชะช่าโดยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนส่องดาววิทยาคม

ผู้แต่ง

  • เสฏฐวุฒิ ไชยฮั่ง คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • วายุ กาญจนศร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน, ทักษะลีลาศ, ทักษะลีลาศจังหวะชะชะช่า

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะลีลาศจังหวะชะชะช่าและศึกษาความพึงพอใจในการเรียนวิชาลีลาศ เรื่อง ทักษะลีลาศจังหวะชะชะช่า ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 และ 6/2 โรงเรียนส่องดาววิทยาคม อำเภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร จำนวน 61 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินทักษะลีลาศ และแบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนวิชาลีลาศ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังเรียนด้วยสถิติทดสอบ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า คะแนนทักษะลีลาศที่ได้จากการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน รายวิชาลีลาศ เรื่อง ทักษะลีลาศจังหวะชะชะช่า ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และความพึงพอใจในการเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด นักเรียนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และยอมรับซึ่งกันและกัน

References

กมลมาศ พึ่งน้อย. (2555). การศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาพลศึกษา เรื่องกีฬาวอลเลย์บอล กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยวิธีสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับแบบปกติ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
จิตรา หมั่นเฮง. (2544). การเปรียบเทียบผลของการฝึกเต้นรำแบบบอลรูมกับแบบละตินอเมริกันที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชวลิต ชูกำแพง. (2551). การพัฒนาหลักสูตร. มหาสารคาม : ทีคิวพี จำกัด.
ชูศรี วงศ์รัตนะ และคณะ. (2545). การวิจัยเพื่อการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เมธีทิปส์.
ชาญชัย แสงอ่อน. (2544). การสร้างแบบประมาณค่าทักษะกีฬาลีลาศ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชัยเวียง โคตรกด (2559). ผลการใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อเพิ่มพูนทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ทิศนา แขมณี. (2545). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพทหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธงชัย เจริญทรัพย์มณี. (2542). ลีลาศ. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.
บุษยากร ซ้ายขวา (2558). การจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน(Peer-Assisted Learning) เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชนเผ่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น
ประนอม ดอนแก้ว. (2550). การใช้กลวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวทางกายในการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเมืองมอกวิทยา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปราสาท อิศรปรีดา. (2541). ความพึงพอใจ. กรุงเทพฯ : กราฟิกอาร์ด.
พัชชา แก้วทอง. (2560). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคกลุ่มแบบเพื่อนช่วยเพื่อนกับวิธีสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
พัชรี มั่นใจจริง. (2549). การพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่อง การปฏิบัติขลุ่ย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พรชัย คำสิงห์นอก. (2550). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องการคำนวณเกี่ยวกับปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการสอนโดย
ใช้เทคนิค TGT และเทคนิค STAD. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ไพรัช กรองสอาด. (2549). ผลของการออกกำลังกายโดยการลีลาศที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
รัตนาภรณ์ ธรรมมา (2556). การพัฒนาชุดกิจกรรมนาฏศิลป์ เรื่อง รำวงมาตรฐานโดยใช้เทคนิคกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
รังสฤษฎ์ บุญชะลอ. (2542). ประวัติลีลาส. กรุงเทพฯ : สกายบุ๊คจำกัด
ลักขณา สริวัฒน์. (2539). จิตวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
วิไล พิพัฒน์มงคลพร. (2535). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการสอนโดยวิธีกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับการสอนแบบปกติ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. ขอนแก่น : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วิไลวรรณ พิมพ์สิงห์. (2553). ผลการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน เรื่อง นาฏศิลป์ไทย สาระการเรียนรู้นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สกุลดาว ศรีหวาด. (2559). การสร้างเกณฑ์การประเมินทักษะลีลาศสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสุวรรณพลับพลาพิทยาคม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุคนธ์ สินธพานนท์และคณะ. (2545). การจัดกระบวนการเรียนรู้: เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
สมถวิล มธิศิริกุล. (2549). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง กลอนสุภาพ โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะและกระบวนการกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านสระแคน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สุชา จันทร์เอม. (2541). จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
เสาวรี ภูบาลชื่น (2560). การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบทางตรงร่วมกับเทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะปฏิบัติ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจวิชาศิลปะ สาระนาฏศิลป์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อุทัย เพชรช่วย. (2527). การทดลองสอนคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยให้นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงและปานกลางเป็นผู้สอนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Applewhite, Phillip B. (1965). Organization behaver. New York : Prentice Hall.
Bender, W.N. (2002). Differentiation instruction for students with learning disabilities. California : Corwin Press, INC.
Ben Dyson, Kevin S. (2004). The Ecology of Cooperative Learning in a High School Physical Education Programme. Waikato Journal of Education vol.10 : 2004.
Candler, A.C., et al. (1981). Peer tutoring as strategy individualizing instruction.Education. 101, 380 – 383.
Dewey, J. (1963). Experience and education. New York: Macmillan Publishing Company.
Good, Carter V. (1959). Dixtionary of Education. New York : McGraw – Hill.
Good, Carter V. (1973). Dixtionary of Education. 3rded. New York : McGraw – Hill.
Herzberg, Frederic. (1959). The Motivation to Work. New York : John Wiley & Sons Inc.
Hilda, Mugglestone. (2006). Peer Assisted Learning in the Acquisition of Musical Composition Skills. Ph.D., University of Lincoln.
Imel, S. (1994). Peer Tutoring in Adult and Literacy Education. Eric Clearinghouse on Adult Career and Vocational Education Columbus O H no. ED368891.
Kohn, J.J., & Vajda, P.G. (1975). Peer-mediated instruction and small group interaction In the ESL classtoom. TESOL Quartery, 4(9), 379 – 390.
Likert, R. (1932). A Technique for the measurement of Attitude. Arch Psychological. 140 : 1.
Lynn, S.Fuchs, Douglas Fuchs, Sarah Kazdan, Shelley Allen. (1999). Effects of Peer-Assisted Learning Strategies in Reading with and without Training in Elaborated Help Giving. The University of Chicago Press.
Maheady, L., Mallette, B., Harper, G.F., Sacca, K.C. & Pomerantz, D. (1994). Peer-mediated instruction for high-rish students. Teaching Reading to HighRish Learners. Masschusette : Allyn and Bacon.
Marry Beth, Calhoon, Lyn S.Fuchs. (2003). The Effects of Peer-Assisted Learning Strategies and Curriculum-Based Measurement on the Mathematics Performance of Secondary Students with Disabilities. Remedial and Special Education vol.24 : 2003.Mohammadreza Abedini, Fathieh Mortazavi, Seyed Alireza Javadinia, Hossein Karimi
Moonaghi. (2013). A New Teaching Approach in Basic Sciences: Peer Assisted Learning. Procedia – Social and Behavioral Sciences 83 : 2013.
Maslow, Abraham Harold. (1970). Motivation and Personality. 2rded. New York : Harper & Row Inc.
Mattatall, Christopher Andrew. (2011). A Study of how one Ontario school board used Peer- Assisted Learning Strategies and Data-Informed Decision Making to address reading failure at grade one. Degree of Doctor of Philosophy, Queen’s University.
Melissa, L. Woodward. (2014). Peer-Assisted Learning Strategies and their impact on the math fluency and social skills of students with Autism. Master of Arts in Special Education, Rowan University.
Miller, A.D., Barbetta, P.M., & Heron, T.E. (1994). START Tutoring : Designing, training, implementing, adapting, and evaluating tutoring program for school and home setting. Pacific Grove, CA : Brooks/Cole Publishing Company.
Moore, Alex. (1986). Ballroom Dancing. London : Pitman Publishing.Robert, E. Slavin. (1987). Cooperative Learning : Where Behavioral and Humanistic Approaches to Classroom Motivation Meet. The University of Chicago Press.
Shirley, M. (2009). Kindergarten Peer-Assisted Learning Strategies With English Language Learners : An Empirical Dissertation. Doctor of Psychology, Philadephia College.
Topping, K. (2001). Peer-and parent-assisted learning in reading, wring, spelling and Thing skills. Availlable at http://www.scre.ac.uk/spotliqht/spotlight82.html.
Thomas, T.L. (1993). Cross-Age and Peer Tutoting. Eric Clearinghouse on Reading and Communication Skills Bloomington IN no. ED350598.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

26-08-2020