Comparing the Efficiency Between Ability in Constructing Scientific Explanation Restricted- and Extended-Response Subjective Tests for Mathayom Suksa 4 Students

Main Article Content

Piriya Wannathai
Chaninan Pruekpramool

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแบบวัดความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์แบบอัตนัยจำกัดคำตอบและไม่จำกัดคำตอบ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 120 คน จาก 6 โรงเรียนในจังหวัดเพชรบุรี ได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชั้น (ICC) ค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค และการทดสอบค่าทีแบบสองกลุ่มที่ไม่อิสระจากกัน


ผลการวิจัย พบว่า 1) แบบวัดความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วยแบบอัตนัยจำกัดคำตอบที่กำหนดให้เขียนคำตอบแยกตามองค์ประกอบของการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ และแบบอัตนัยไม่จำกัดคำตอบที่สามารถเขียนคำตอบได้อย่างอิสระ แต่ละแบบวัดมีข้อคำถาม จำนวน 10 ข้อ ไม่จำกัดกลุ่มเนื้อหา และมีการให้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่เพียงพอต่อการสรุปหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการตอบคำถาม และเกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบเป็นรายข้อ มีค่าความยาก 0.26 - 0.47 และค่าอำนาจจำแนก 0.51 – 0.93 และ 2) แบบวัดความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์แบบอัตนัยไม่จำกัดคำตอบมีประสิทธิภาพสูงกว่าแบบจำกัดคำตอบ นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์จากแบบอัตนัยไม่จำกัดคำตอบสูงกว่าแบบจำกัดคำตอบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 6.027,
p = .000)

Article Details

How to Cite
Wannathai, P., & Pruekpramool, C. (2021). Comparing the Efficiency Between Ability in Constructing Scientific Explanation Restricted- and Extended-Response Subjective Tests for Mathayom Suksa 4 Students. Journal of Graduate Research, 12(2), 103–118. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/banditvijai/article/view/250697
Section
Research Article

References

กรกนก เลิศเดชาภัทร. (2559). ผลของการสืบสอบแบบร่วมมือรวมพลังที่มีต่อความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

กรกนก เลิศเดชาภัทร และปริณดา ลิมปานนท์ พรหมรัตน์. (2561). ผลของการสืบสอบแบบร่วมมือรวมพลังที่มีต่อความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 46(12), 1-20.

กฤตกร สภาสันติกุล. (2559). ผลการสืบสอบแบบร่วมมือรวมพลังที่มีต่อความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือรวมพลังของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

ฉลองวุฒิ จันทร์หอม และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2563). การสำรวจความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 21, วันที่ 27 มีนาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (หน้า 644-654). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

พรรณนภา อนิวรรตนวงศ์ และร่มเกล้า จันทราษี. (2562). การประเมินผลของการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานร่วมกับการใช้การเชื่อมโยงหลักฐานและแบบจำลองที่มีต่อการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารละลาย อิเล็กโทรไลต์และนอนอิเล็กโทรไลต์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 5(1), 65-83.

พัชรินทร์ ชมภูวิเศษ. (2559). การวัดและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

พัณนิดา มีลา และร่มเกล้า อาจเดช. (2560). การสืบเสาะหาความรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานและการอธิบายทางวิทยาศาสตร์: การส่งเสริมการสร้างความหมายในชั้นเรียน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(3), 1-15.

วิจิตรา กุสุมภ์ และสุลี ทองวิเชียร. (2560). การพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 25(3), 1-8.

วิเชียร อินทรสมพันธ์, เพชราวดี จงประดับเกียรติ, ทวีศักดิ์ จงประดับเกียรติ, สุภาพร ศรีหามี, อัครเดช เกตฉ่ำ, เพ็ญพร ทองคำสุก, สิริกร โตสติ, เกษมสันติ์ รจพจน และฑิตยา สิทธิโสภาสกุล. (2563). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: วรานนท์ เอ็นเตอร์ไพรส์.

สุทธิชาติ เปรมกมล และสกลรัชต์ แก้วดี. (2560). ผลของการใช้การสืบสอบเน้นแบบจำลองเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์และการให้เหตุผลของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 12(1), 259–274.

อารยา องค์เอี่ยม และพงศ์ธารา วิจิตเวชไพศาล. (2561). การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย. วิสัญญีสาร, 44(1), 36-42.

Andrade, V., Shwartz, Y., Freire, S., & Baptista, M. (2021). Students' mechanistic reasoning in practice: Enabling functions of drawing, gestures and talk. Science Education, 106(1), 1-27.

Bajpai, S., Bajpai, R. C., & Chaturvedi, H. K. (2015). Evaluation of inter-rater agreement and inter-rater reliability for observational data: an overview of concepts and methods. Journal of the Indian Academy of Applied Psychology, 41(3), 20-27. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/273451591_Evaluation_of_Inter-Rater_Agreement_and_Inter-Rater_Reliability_for_Observational_Data_An_Overview_of_Concepts_and_Methods

Fort-Vanmeerhaeghe, A., Montalvo, A. M., Lloyd, R. S., Read, P., & Myer, G. D. (2017). Intra-and inter-rater reliability of the modified tuck jump assessment. Journal of Sports Science & Medicine, 16(1), 117.

Johnson, K. A., & Foa, L. J. (1996). Instructional design: New alternatives for effective education and training. Phoenix: Oryx Press.

Lucas, C., Bosnic-Anticevich, S., Schneider, C. R., Bartimote-Aufflick, K., McEntee, M., & Smith, L. (2017). Inter-rater reliability of a reflective rubric to assess pharmacy students’ reflective thinking. Currents in Pharmacy Teaching and Learning, 9(6), 989-995.

McNeill, K. L., & Krajcik, J. (2008a). Assessing middle school students’ content knowledge and reasoning through written scientific explanations. Assessing science learning: Perspectives from research and practice, 101-116.

McNeill, K. L., & Krajcik, J. (2008b). Scientific explanations: Characterizing and evaluating the effects of teachers' instructional practices on student learning. Journal of Research in Science Teaching, 45(1), 53-78.

Murphy, A. R., Ingram, H. E., Nelson, J. T., Bohm, M. R., Linsey, J. S., & Nagel, R. L. (2019). An update to a functional modeling scoring rubric with overall and question-level inter-rater reliability. Journal of Mechanical Design, 141(8), 084501-1-10. Retrieved from https://asmedigitalcollection.asme.org/mechanicaldesign/article-abstract/141/8/084501/727183/An-Update-to-a-Functional-Modeling-Scoring-Rubric?redirectedFrom=fulltext

Ningsi, S., Suhandi, A., Kaniawati, I., & Samsudin, A. (2019). KTG-SESC: Development of scientific explanation skills test instrument. In Journal of Physics: Conference Series, August 28-29, 2018 Gedung Graha Cakrawala (p. 1-6). Indonesia: Universitas Negeri Malang.

Oktavianti, E., Handayanto, S. K., Wartono, W., & Saniso, E. (2018). Students’ scientific explanation in blended physics learning with e-scaffolding. Jurnal Pendidikan IPA Indonesia, 7(2), 181-186. Retrieved from https://journal.unnes.ac.id/nju/index.php/jpii/article/view/14232/7901

Secolsky, C., & Denison, D. B. (Eds.). (2017). Handbook on measurement, assessment, and evaluation in higher education. New York: Routledge.

Sener, N., & Tas, E. (2017). Developing achievement test: A research for assessment of 5th grade biology subject. Journal of Education and Learning, 6(2), 254-271.

Shafack, R. M., Alemnge, F. L., & Eta, E. R. (2020). Classroom assessment of essay writing, and students’ learning of English language in secondary schools in the south west region of Cameroon. International Journal of Science Academic Research, 1(8), 591-601.

Sinadia, A. R., & Jatmika, S. (2020). Development of the academic achievement test for undergraduate students. Advances in Social Science, Education and Humanities Research, 438, 191-195.

Sumarni, W., Supardi, K. I., & Widiarti, N. (2017). Development of assessment instruments to measure critical thinking skills. IOP Conference Series: Materials Science and Engineering, 349, 1-11.

Traut, J. (2017). Forming explanations from evidence using the claim-evidence-reasoning framework. (Master thesis, Science Education, Montana State University).

Villa, K. R., Sprunger, T. L., Walton, A. M., Costello, T. J., & Isaacs, A. N. (2020). Inter-rater reliability of a clinical documentation rubric within pharmacotherapy problem-based learning courses. American Journal of Pharmaceutical Education, 84(7), 886-891.

Yao, J. X., & Guo, Y. Y. (2018). Validity evidence for a learning progression of scientific explanation. Journal of Research in Science Teaching, 55(2), 299-317.

Yao, J. X., Guo, Y. Y., & Neumann, K. (2016). Towards a hypothetical learning progression of scientific explanation. Asia-Pacific science education, 2(1), 1-17.