ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ โดยใช้เทคนิค KWDL ร่วมกับกลวิธี Box–Method ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

Main Article Content

ornanong klinsrisuk
Annop Kaewkhao
Somkid Intep

Abstract

The purposes of this research aimed to improve the learning achievement and mathematical problem-solving ability of Mathayomsuksa 1 students through the developed learning management on ratio proportion and percentage using the KWDL technique with Box – Method, setting a 70 percent criterion. The researcher employed a one-group posttest-only design. The sample group involved 34 Mathayomsuksa students from class 1/2 who were randomly selected by simple random sampling by drawing lots, in the second semester of the 2021 academic year at Phukhieo School, Phukhieo District, Chaiyaphum Province. The research instruments included lesson plans on ratio, proportion, and percentage using the KWDL technique with Box–Method, as well as tests to assess the students’ mathematical problem-solving ability and learning achievement. The collected data were analyzed using mean, standard deviation, and z-test for one sample.


The findings were as follows: the developed learning plans achieved the efficiency of 85.13/74.71. The student’s mathematical problem-solving ability and learning achievement were statistically higher than the 70 percent criterion at the .05 level of significance.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กนกพร เทพธี. (2558). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL ที่มีต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาและความคงทนในการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร. วิทยานิพนธ์ วท.ม. อุบลราชธานี: มหาวิททยาลัยอุบลราชธานี.

ชวลิต ด้วงเหมือน. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวกลบ คูณ หารระคน ด้วยเทคนิค KWDL ร่วมกับการใช้แผนภาพ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ วท.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2559). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). นนทบุรี: พี บาลานซ์ดีไซด์แอนปริ้นติ้ง.

ชูฉกาจ ชูเลิศ. (2561). การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาสัดส่วน โดยใช้สื่อ Box Method ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. กรุงเทพฯ: โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

พีระพัฒน์ จันทรเสนาวงศ์. (2553). การศึกษาผลสัมฤทธ์ของนักเรียนในการเรียน เรื่อง อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยกลวิธีการสร้างตาราง. วิทยานิพนธ์ วท.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

โรงเรียนภูเขียว. (2561). รายงานผลการประเมินด้วยข้อสอบมาตรฐานในการสอบปลายปี ประจำปีการศึกษา 2561. ชัยภูมิ: โรงเรียนภูเขียว.

_______. (2562). รายงานผลการประเมินด้วยข้อสอบมาตรฐานในการสอบปลายปี ประจำปีการศึกษา 2562. ชัยภูมิ: โรงเรียนภูเขียว.

วรวิทย์ นิเทศศิลป์. (2551). สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สกายบุกส์.

วัชรา เล่าเรียนดี. (2554). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 7). นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). การวัดผลประเมินผลคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

Sullivan, J. (2009). The “Box Method” For Teaching Ratio/Proportion Problems. Paper presented at the 2009 Annual Conference & Exposition, Page 14.1266.11.