การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิด Active Learning เพื่อเสริมสร้างทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Main Article Content

Sasinapa Thammakul

Abstract

The purposes of this research were to 1) develop the instructional model based on the active learning concept for enhancing mathematical skills and processes of Mathayomsuksa 5 students, 2) determine the efficiency of the developed instructional model, and 3) examine the effects after the implementation of the instructional model. The sample group, selected through cluster random sampling, consisted of 32 Mathayomsuksa students from class 5/1 at Sakhontawepee School in the second semester of the academic year 2020, using a classroom as a sampling unit. The research instruments comprised the instructional model, which involved handbooks for model implementation and lesson plans. Data collection involved a learning achievement test, an assessment test on mathematical skills and processes, and a set of questionnaires to evaluate students' satisfaction. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test Dependent Samples, and content analysis.


The results revealed that:


1. The instructional model “5C Model” based on active learning for enhancing mathematical skills and processes for Mathayomsuksa 5 students comprising five elements: 1) Principles: The students engaged in learning by doing the activities and utilized a self-learning management system, fostering mathematical skills and processes to assist students with meaningful learning, self-confidence, awareness of learning’s importance, and  connections to their daily life; 2) Objectives: The primary goal was to enhance the students’ mathematical skills and processes, 3) Instructional Processes comprising five stages: Stage 1: Challenge (C), Stage 2: Collaboration (C), Stage 3: Co-working (C), Stage 4: Conceptualization (C), and Stage 5: Creation (C); 4) Measurement and Evaluation involving the utilization of diverse authentic assessment methods; and 5) Learning Conducive Factors comprising two aspects: For teachers, ensuring they  obtained correct concepts and understand how to conduct activities to enhance the mathematical skills and processes; For students, fostering responsibility and self–discipline. The efficiency of the developed instructional model was measured at 80.10/79.07.


2. The effectiveness of the instructional model revealed that: 2.1) The students’ learning achievement scores after the intervention were higher than those before the intervention, with a significance level of .01 (p<.01), 2.2) The students’ mathematical skills and processes demonstrated improvement after the intervention, 2.3) The students’ satisfaction with the instructional model was overall at a high level (gif.latex?\bar{x} = 4.32, S.D. = 0.60)


3. The students’ progress in terms of mathematical skills and processes showed improvement.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

_______. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

กาญจนา คุณารักษ์. (2552). การออกแบบการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทาลัยศิลปากร.

จิราภรณ์ ยกอินทร์. (2558). การใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือที่มีต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษา Using Cooperative Learning towards Students’Learning Behavior. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

ชมนาด เชื้อสุวรรณทวี. (2555). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดขั้นสูงและจิตนิสัยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2533). เทคโนโลยีการสอน: การออกแบบและการพัฒนา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

นันธิยา ไชยสะอาด และสุณิสา สุมิรัตนะ. (2558). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์และเจตคติต่อการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารสิ่งแวดล้อมศึกษา-สสศท, 6(12), 97–109.

นิวัฒน์ บุญสม. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกระบวนการแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริม นวัตกรรมด้านสุขภาพของนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปราณี แสนสามารถ นงลักษณ์ วิริยะพงษ์ มะลิวัลย์ ถุนาพรรณ์. (2558). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์โดยวิธีการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่องกำหนดการเชิงเส้นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 9(2), 255-264.

พลอยไพลิน นิลกรรณ์. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning โครงการการนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โดยใช้กระบวนการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง. ลำปาง: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน: การเรียนการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพจิตร สดวกการ. (2539). ผลการสอนคณิตศาสตร์ตามแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และความสามารถในการถ่ายโยงการเรียนรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ค.ด. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภัทราวดี มากมี. (2554). วิธีการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วารสาร EAU Heritage มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 1(1), 7-14.

ยุพิน พิพิธกุล. (2539). การเรียนการสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.

_______. (2545). แผนการจัดการเรียนรู้. วารสารคณิตศาสตร์, 46, 4-17.

โรงเรียนสกลทวาปี. (2562). รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ปีการศึกษา 2562. สกลนคร: รายงานประจำปี.

วัชรา เล่าเรียนดี. (2550). เทคนิคและยุทธวิธีพัฒนาทักษะการคิด การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วันทนา พลภักดิ์. (2561). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตรของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ วท.บ. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วารินท์พร ฟันเฟื่องฟู. (2557). การศึกษาองค์ประกอบทักษะชีวิตของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ ปร.ด ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: บริษัท ตถาตา พับลิเคชัน จํากัด.

วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (2559). ห้องเรียนแห่งอนาคต เปลี่ยนครูให้เป็นโค้ช. กรุงเทพฯ. ซีเอ็ดยูเคชั่น.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2549). เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเผยแพร่ ขยายผลและอบรมรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน เพื่อพัฒนากระบวนการคิดระดับสูง. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

สมทรง สุวพานิช. (2549). การพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน. มหาสารคาม: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสารคาม.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: กลุ่มส่งเสริมนวัตกรรมการเรียนรู้ของครูและบุคลากรทางการศึกษา สำนักมาตรฐานและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). แนวทางการนิเทศเพื่อพัฒนา และส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: กลุ่มส่งเสริมนวัตกรรมการเรียนรู้ของ

ครูและบุคลากรทางการศึกษา สำนักมาตรฐานและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

สุคนธ์ สินธพานนท์. (2560). ครูยุคใหม่กับการจัดการเรียนรู้ สู่การศึกษา 4.0. กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

สุมาลี ชัยเจริญ. (2551). เทคโนโลยีการศึกษาและการพัฒนาระบบการสอน. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุวิมล ทองเทียม และมะลิวัลย์ ถุนาพรรณ์. (2556). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยวิธีการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 8(24), 56-65.

C. C. Bonwell, J. A. Eison, (1991). Active Learning: Creating Excitement in the Classroom. ERIC Digest. Washington D.C.: ERIC Clearinghouse on Higher Education.

Creswell, J.W. and Plano V.L. Clark. (2011). Design and conducting mixeds research. (2nded). California. CA: Sage.

Delisle, Robert. (1997). How to Use Problem –Based Learning in the Classroom. Alexandria, Virgnia: Association for Supervision and Curriculum Development.

Dick, W., Carey L.O. (2005). The Systematic Design of Instruction. (5thed). New York: Addison-Wesley, Longman.

Felder, R., & Brent, R. (1996). Navigating the Bumpy Road to Student-Centered Instruction. Journal of College Teaching, 44, 43-47.

Gagne, R.M. (1985). The Condition of Learning. New York: Rinehart and Winston.

Joyce, B., Weil, M., and Calhoun, E. (2009). Models of Teaching. (8thed). New York: Allyn & Bacon.

Kruse, K. (2009). Introduction to Instructional Design and the ADDIE Model. Retrieved from http://www.transformativedesigns.com/id_systems.html. October 15th, 2019.

Merrill Harmin and Melanie Toth. (2006). Inspiring Active Learning: A Complete Handbook for Today's Teachers. United States: Association for Supervision & Curriculum Development.

Meyers C, Jones TB (1993). Promoting Active Learning: Strategies for the College Classroom. Jossey-Bass Publishers, San Francisco.

Schmidt, Henk G. (1993). The Rational Behind Problem Based Learning. Medical Education, 17, 11-16.