การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) ร่วมกับการใช้ผังกราฟิก

Main Article Content

Pattranan Pajane
Sitthipon Art-in

Abstract

The objectives of this research were to 1) develop science process skills of Mathayomsuksa 3 students using the learning management based on the 7E learning cycle with graphic organizers, resulting in an average score of at least 70 percent of the total score, and a minimum of 70 percent of students passing, and 2) foster the critical thinking ability of Mathayomsuksa 3 students using the developed learning management with an average score not less than 70 percent of the total score, and at least 70 percent of students passing. The target group consisted of 15 Mathayomsuksa 3 students. The research design was an action research methodology within a 3 cycle process. The research operational tool included six 18-hour lesson plans based on the 7E learning cycle with graphic organizers. The research reflective tools consisted of 1) instruction records, 2) an instruction observation form, and 3) an interview form and end-of-spiral quizzes. The research assessment tools included 1) a 12-item test on science process skills, and 2) a 35-item test on critical thinking ability. Statistics for data analysis consisted of mean, standard deviation, and percentage. The qualitative data were analyzed through content analysis.


The results revealed that:


1. The students demonstrated science process skills at a score of 17.93 with a standard deviation of 2.69, equivalent to 74.71 percent of the total score. A total of 11 students, or 73.33 percent, achieved scores that were higher than the defined criteria.


2. The students exhibited a critical thinking ability score of 25.93 with a standard deviation of 2.91, equivalent to 74.09 percent of the total score. A total of 12 students, or 80.00 percent, achieved scores that were higher than the defined criteria.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

________. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

เกียรติพล กุสุมาลย์ และไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์. (2560). ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(2), 10-21.

นิตยา ม่วงพะเนาว์ และวาสนา กีรติจำเริญ. (2561). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) ร่วมกับผังมโนทัศน์. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 29(3), 40-49.

ฑิฆัมพร กอมณี. (2556). การเปรียบเทียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระกว่างการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น และดำเนินการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พ.ว.).

วรรณทิพา รอดแรงค้า และพิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2542). การพัฒนาการคิดของครู ด้วยกิจกรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.

วรุณีพร ขวัญโพก และน้ำฝน เบ้าทองคำ. (2563). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง ดิน โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน. วารสารครุศาสตร์สาร, 14(1), 159-172.

วันทนา งาเนียม และพรสิริ เอี่ยมแก้ว. (2564). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารบัณฑิตวิจัย, 12(1), 55-67.

สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ. (2564). ระบบประกาศและรายงานผลสอบโอเน็ต. เข้าถึงได้จาก http://www.newonetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/Login.aspx. 18 เมษายน 2564.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์. เข้าถึงได้จาก https://so05.tcithaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/issue/view/16611/3936. 9 เมษายน 2564.

สิทธิพล อาจอินทร์. (2550). รูปแบบการพัฒนาทักษะการสอนคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับครูวิทยาศาสตร์ประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ศษ.ด. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุภัทรา ตันติวิทยมาศ. (2554). การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณด้วยแผนผังมโนทัศน์ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวัฒน์ นิยมค้า. (2531). ทฤษฎีและทางปฏิบัติในการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้. กรุงเทพฯ: เจเนอรัลบุ๊คเซ็นเตอร์.

อำนาจ เจริญศิลป์. (2537). วิธีการสอนวิทยาศาสตร์ยุคใหม่. กรุงเทพ: โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์.

Bantalem, W., & Kassie, B. (2020). Effects of using inquiry-based learning on EFL students’ critical thinking skills. Asian-Pacific Journal of Second and Foreign Language Education, 5(9), 1-14.

Bromley K., Linda D., & Modlo, M. (1995). Graphic Organizers: Visual Strategies for Active Learning. New York: Scholastic Professional Books.

Carol, E. Watson. (2005). Graphic Organizers: Toward Organization and Complexity of Student Content Knowledge. Ph.D. Dissertation Virginia: Virginia Polytechnic Institute and State University.

Christopher, M. Longo. (2012). Effects of an Inquiry-Based Science Program on Critical Thinking, Science Process Skills, Creativity, and Science Fair Achievement of Middle School Students. Ph.D. Dissertation Connecticut: Western Connecticut State University.

Eisenkraft. (2003). Expanding the 5E Model: A Proposed 7E Model Emphasizes Transferring Learning and the Importance of Eliciting Prior Understanding. The Science Teacher, 70(6), 56-59.

Kemmis, S., & McTaggart, R. (1988). The Action Research Planner. Geelong, Australia: Deakin University Press.

Khairani, N., & Bukit.(2021) . Analysis of Science Process Skills Using Learning Cycle 7E. Journal of Physics: Conference Series Bristol, 1811(1), 1-5.

OECD. (2013). Education at a Glance 2013: OECD Indicators. Retrieved form https://www.oecd.org/education/eag2013%20(eng)--FINAL%2020%20June%202013.pdf. April 9th, 2021.