ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยใช้ผังมโนทัศน์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3

Main Article Content

Nipa Singsena
Supakorn Sornphet
Ben Kittikun
Anek Norasarn
Warothai Siriseranee

Abstract

The objectives of this research were: 1) to find the effectiveness of the learning activities packages of ‘The Philosophy of Sufficiency Economy’ in the social studies, religion, and culture department by using the conceptual diagram of Grade 4 students based on the standard criterion 80/80 2) to compare the learning achievement of the Grade 4 students between before and after learning by being the learning activities packages using the conceptual diagram. The sample group used for this study was Grade 4 students at Ban Dong Huai Piuey School, under Sakon Nakhon Primary Educational Service Area Office 3, totaling 19 students obtained by cluster random sampling. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation and percentage. The research instruments consisted of 1) the learning activities packages of ‘The Philosophy of Sufficiency Economy’ 2) a learning achievement test


The results of the study were as follows: 1) the learning activity packages of ‘The Philosophy of Sufficiency Economy’ in the social studies, religion, and culture course department by using the conceptual diagram had efficiency of 81.00/82.14, which was higher than the set criterion.  2) the Grade 4 students of Ban Dong Huai Piuey School had a higher learning achievement score after studying with the learning activities packages of ‘The Philosophy of Sufficiency Economy’ in the social studies, religion, and culture department by using the conceptual diagram than before studying with statistical significance of .01.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ. (2560). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ภัทราภรณ์ พิทักษ์ธรรม. (2543). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้กิจกรรมการสร้างแผนภูมิมโนทัศน์กับการสอนตามคู่มือครู. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

รจนา ป้อมแดง. (2556). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556. เข้าถึงได้จาก https://pubhtml5.com/yczz/hssv/basic. 15 กันยายน 2563.

โรงเรียนบ้านดงห้วยเปลือย. (2560). เอกสารประกอบหลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. (ฉบับปรับปรุง 2560). สกลนคร: มปป.

ศิริพร ทรุเครือ. (2544). ผลการเรียนแบบเครื่องมือโดยใช้ผังมโนทัศน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความคงทนในการเรียนรู้กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.