ความพร้อมของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการดำเนินงานในรูปแบบออนไลน์: กรณีศึกษาในเขตเทศบาลนครสกลนคร

Main Article Content

Pranpriya Chatavaraha
Charles Ruanhthamsin

Abstract

The objectives of this research article were 1) to examine the readiness of educational institutions to operate in an online format, 2) to study the need, problems, and obstacles associated with educational institutions operating online under the Local Administrative Organizations (LAOs), and 3) to suggest guidelines for improving the readiness of educational institutions to transform into an online operation. The quantitative research method was employed. The sample group, obtained through purposive sampling, consisted of 100 participants, including civil servants, teachers, and personnel from four educational institutions in Sakon Nakhon municipality under the LAOs. The research tool was a set of questionnaires. Statistics used in quantitative research included descriptive statistics-frequencies, percent, mean, and standard deviation.


The results of the research revealed that: 1) The readiness of educational institutions to operate online was at the highest level with a mean of 4.21 and a standard deviation of 0.620; 2) The need, problems, and obstacles of online operations of educational institutions under the LAOs, mostly focused on academic aspects. The majority of participants had a low proficiency level with using devices and equipment, and rated that there was a lack of equipment to facilitate technology use in terms of budget aspect; and 3) enhance educational institutions’ readiness for a transition to online operations, guidelines should be put in place, such as providing training for personnel in using information technology for work performance.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ ช่างหลอม. (2559). ปัญหาและความต้องการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานวิชาการตามความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 6(2), 66-78.

กฤติภัทรกร ศิริภัทรนิธิโภคินและคณะ. (2564). การใช้เทคโนโลยีในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาในยุควิถีใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่. สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2564). แผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น พ.ศ.2561-2564. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (2563). คู่มือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์. อุบลราชธานี: กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

เจษฎา ชวนะไพศาล. (2563). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มสหวิทยาเขตทวารวดีสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี. การค้นคว้าอิสระ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชัยยา บัวหอม. (2563). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของบุคลากร โรงเรียนน้ำเกลี้ยงวิทยา. ศรีสะเกษ: สำนักการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28.

พิมิล โชติธนอธิวัฒน์. (2560). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองพนัสนิคม. วิทนานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

วานิช อินคงงาม. (2561). ปัจจัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งผลต่อการบริหารงานของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

สุชญา โกมลวานิช. (2563). องค์ประกอบของภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. หนองคาย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

โสภาพรรณ สุริยะมณี. (2561). การวิเคราะห์ความพร้อมในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน: กรณีศึกษาหน่วยงานเลขานุการผู้บริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

อิทธิฤทธิ์ กลิ่นเดช. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำเชิงเทคโนโลยีกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.