ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร

Main Article Content

Ridtichai Chasaen
Chardchai Udomkijmongkol
Lamai Romyen

Abstract

The purposes of this research were to 1) examine social support factors and the level of welfare for the elderly in Phanna Nikhom District, Sakon Nakhon Province, 2) to explore the level of the quality of life of the elderly in Phanna Nikhom District, Sakon Nakhon Province, and 3) to identify the influences of welfare and social support factors on the quality of life of the elderly in Phanna Nikhom District, Sakon Nakhon Province.  Obtained through stratified sampling technique, the samples consisted of 375 elderly people residing in the Phanna Nikhom District, Sakon Nakhon Province. The tool for data collection was a set of questionnaires with the reliability of .942. Statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean (gif.latex?\bar{x}), standard deviation, and multiple regression Analysis. The study results revealed that: 1) The demographical profile comprised gender, age, marital status, education background, occupation, education background, and monthly income. The total of 375 respondents consisted of 53.90% males. The age range of the respondents was between 66 and 77 (44.30%). Overall, 66.70% of all respondents reported they were married at the time of the survey. Regarding educational background, 31.50% of all respondents had completed lower secondary school levels. More than 62.90% of the respondents were farmers, with monthly incomes between 5,001 to 10,000 baht (36.00%); 2) The welfare and the social support factors of the elderly were overall at a high level (gif.latex?\bar{x}= 3.97), (gif.latex?\bar{x}= 3.75), respectively. Likewise, the quality of life of the elderly in this area was overall at a high level (gif.latex?\bar{x}= 4.22); 3) The welfare for the elderly significantly influenced their quality of life at a .05 of significance. The welfare factors had a correlation coefficient of .545, and 4) the social support factors significantly influenced the quality of life of the elderly at a .05 level of significance with a correlation coefficient of .696.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล. (2562). อิทธิพลของแรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตที่มีต่อความสุขของผู้สูงอายุเขตกรุงเทพมหานคร ปทุมธานี นนทบุรี และสมุทรปราการ. ปริญญา บธ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

กัญญาณัฐ ไฝคำ. (2561). การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 7(2), 19-26.

จิรัชยา เคล้าดี. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารราชพฤกษ์, 15(1), 27-32.

นพพร ธนะชัยขันธ์. (2550). การสร้างและการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

ทรงศักดิ์ ภูศรีอ่อน. (2551). การประยุกต์ใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การศึกษาและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ด้วย SPSS. กรุงเทพฯ: วีอินเตอร์พริ้นทร์ กรุงเทพมหานคร.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย. เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ภัทราพร เกษสังข์. (2549). การวิจัยทางการศึกษา. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

มูลนิธิสถาบันและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2553). รายงานประจำปีสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.

สุขประเสริฐ ทับสี. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุในอำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, 3(1), 14-30.

สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์. (2557). สวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 7(1), 73-82.

สุทธิพงศ์ บุญผดุง. (2554). การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ 1). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอพรรณานิคม. (2563). ข้อมูลสถิติผู้สูงอายุ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 แยกตามตำบล จังหวัดสกลนคร. กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย.

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสกลนคร (2558). สถานการณ์ผู้สูงอายุจังหวัดสกลนคร. เข้าถึงได้จาก http://www.sakonnakhon.m-society.go.th/menu_r_datasocial/danger%20old59.pdf. 8 กุมภาพันธ์ 2563.

WHOQOL Group. (1994). The World Health Organization Quality of life assessment (WHOQOL): Position paper from the World Health Organization. Social Science and Medicine, 41, 1403-1409.