อิทธิพลของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ของข้าราชการส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสกลนคร

Main Article Content

Nichanan Wannakun
Samart Aiyakorn
Lamai Romyen

Abstract

The purposes of this study were 1) to investigate the level of work motivation and the performance of local government officials, 2) to explore the influence of work motivation affecting the performance of local government officials, and 3) to establish guidelines on promoting and developing the work motivation and the performance of the local government officials in Sakon Nakhon Province. The subjects were 376 local government officials in Sakon Nakhon, obtained by stratified sampling and random sampling techniques. A questionnaire was used for data collection, and the statistics employed for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and Multiple linear regression analysis. The results revealed that: (1) The work motivation of the local government officials was overall at a high level, and the performance of the local government officials was also at a high level; 2) Regarding the motivation factors, job advancement (β = .298) and responsibility (β = .260) significantly influenced the performance of the local government officials at a .00 level of significance. Job characteristics (β = .142) and Job achievement (β = .115) significantly influenced the performance of the local government officials at a .01 statistical level, whereas job recognition and respect (β =.109) significantly influenced at a .05 level of significance. The said components could predict the performance of the local government officials at 61.50%. Of the supporting factors, job characteristics (β =.345) and the relationship with the superiors (β = .244) significantly influenced the performance of the local government officials at a .00 level of significance. The relationship with colleagues (β = .157), job stability (β = .142), and salary and payment (β = .092) significantly influenced the performance of the local government officials at a .01 level of significance,  indicating that the factors could predict the performance of the local government officials of Sakon Nakhon Province by 67.40%; 3) The guidelines for promoting and developing the work motivation and the performance of the local government officials in Sakon Nakhon Province were: Organizations should set the policies to establish the career path for job advancement and policies for evaluating performance. The administrators of local government organizations should improve their potential to improve administrative management through self-education and knowledge improvement and participation in training courses. Apart from these approaches, the capacities of the employees and staff at every level should be consistently developed.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กมลวรรณ ปานประดิษฐ์. (2563). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง. รายงานการวิจัย พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

กัลยรัตน์ สุนทรสวัสดิ์. (2560). ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลตำบลสร่างโศก อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี. สารนิพนธ์ รป.ม. นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา.

จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2555). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ทวีพรินท์ (1991) จำกัด.

ชลดรินทร์ ธนะศักดิ์เจริญ. (2558). แรงจูงใจในการทำงานของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพิจิตร. วิทยานิพนธ์ รป.ม. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ณัฐหทัย นันทะผา. (2560). แรงจูงใจกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการสำนักงานพญาไท: กรณีศึกษา สำนักงานเขตพญาไท กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ รป.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกริก.

นิติพล ภูตะโชติ. (2559). พฤติกรรมองคการ. (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

เพ็ญรุ่ง แก้วทอง. (2559). แรงจูงใจกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ธุรการศาลยุติธรรม: กรณีศึกษา ศาลอุทธรณ์ภาค 1. สารนิพนธ์ รป.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกริก.

ภูวดล วงศ์รัตน์. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับประสิทธิผล การปฏิบัติงานของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตจังหวัดเพชรบุรี. เพชรบุรี: สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

มณฑา อยู่สุภาพ. (2562). คุณภาพชีวิตในการทำงานมีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลเมืองบางกรวย. การค้นคว้าอิสระ รป.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วิลารัตน์ แสนชัย. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนตำบล ในเขตอำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม. การค้นคว้าอิสระ รป.ม. มหาสารคาม: วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วิไลวรรณ ทองบุญมา. (2562). แรงจูงใจที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในศาลากลางจังหวัดขอนแก่น. การค้นคว้าอิสระ บธ.ม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดขอนแก่น.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

ศุภจิรา จันทร์อารักษ์. (2551). ความคิดเห็นของราชราชการที่มีต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานใน เทศบาลเมืองชลบุรีจังหวัดชลบุรี. ปัญหาพิเศษ รป.ม, ชลบุรี: วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมคิด บางโม. (2557). องค์การและการจัดการ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.

สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2558). การกระจายอำนาจตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสกลนคร. (2563). ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสกลนคร. สกลนคร: สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสกลนคร.

อนิวัช แก้วจำนงค์. (2557). หลักการจัดการ. สงขลา: บริษัท นำศิลป์โฆษณา.

อรุณ จิรวัฒน์กุล.(2557). สถิติในงานวิจัย เลือกใช้อย่างไรให้เหมาะสม. กรุงเทพฯ: บริษัทวิทยพัฒน์.

อารีรัตน์ แตงเที่ยง. (2560). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการพนักงานราชการและลูกจ้างประจำของสำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Herzberg, F. Bernard, M. & Barbara, B.S. (1959). The motivation to work. New York: ohn Wiley & Sons.

Steer, Richard M. and Porter, Lyman W. (1977). Organizational Work. Personal Factor in Employee and bsenteeism. “Psychological Bulletin 80 No.2”.

Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd ed.). New York: Harper: & Rows. Publishers.