ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของเทศบาลตำบลในเขตจังหวัดบึงกาฬ
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were 1) to investigate the level of supplies administration and the efficiency of supplies administration of the sub-district municipalities in Bueng Kan Province Area, 2) to examine the factors which influenced the efficiency of supplies administration of the sub-district municipalities in Bueng Kan Province, 3) to explore guidelines for improving the efficiency of supplies administration of the sub-district municipalities in Bueng Kan Province. Obtained through stratified sampling technique, the sample group consisted of 291 personnel from the sub-district municipalities in Bueng Kan Province. The tool for data collection was a set of questionnaires and the statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Multiple regression analysis. The findings revealed that: 1) Supplies administrative factors, as a whole, were at a high level (= 3.98). 2) The efficiency of supplies administration, as a whole, was at a high level (= 4.14). 3) Supplies administrative factors significantly influenced the efficiency of supplies administration at the .05 level of significance with a .250 predictive correlation coefficient. 4) The guidelines for improving the efficiency of supplies administration of sub-district municipalities in Bueng Kan Province should include the personnel in charge of the supplies administration continuously attending training courses to keep up with the latest updated knowledge and expertise in rules/regulations for managing the supply and inventory tasks. Personnel should properly store, document, or effectively file important data to enable simple, quick, practical, and affordable utilization and retrieval. All tools, equipment, necessary objects, and modern technology should be provided. To ensure that they might be used as quickly and profitably as possible, the equipment, devices, items, and technology should be continuously inspected, tested, appraised, and maintained.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2553). สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
เบญญาภา ยาโตปมา และพิพัฒน์ ไทยอารี. (2558). การบริการพัสดุอย่างมีประสิทธิภาพของสำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต, 4(3), 1010-1017.
มลฤดี รัตนะคุณ. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดหนองคาย. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(2), 246-258.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (2560). เข้าถึงได้จาก https://th.wikipedia.org/wiki. 7 กุมภาพันธ์ 2563.
รัตนา อาสาทำ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลตอประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุในมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ปริญญา บธ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ. (2563). เกร็ดความรู้จัดซื้อจัดจ้าง. เข้าถึงได้จาก http://www.gprocurement.go.th /wps/wcm/connect/egp2/egp/egp_news_othe. 7 กุมภาพันธ์ 2563.
วันเพ็ญ สุขประเสริฐ. (2561). แนวทางการป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2560 (ฉบับใหม่) ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขต อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11(3). 3186-3206.
สิน พันธุ์พินิจ. (2554). เทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด.
สมหมาย เทียนสมใจ. (2556). รูปแบบการบริหารงานที่มีประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สำนักงานท้องถิ่นจังหวัดบึงกาฬ. (2563). จำนวนบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดบึงกาฬ. บึงกาฬ: ศาลากลางจังหวัดบึงกาฬ.