แนวทางการดำเนินงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ

Main Article Content

Nattapol Pongtaworn
Chatjariya Bailee

Abstract

The purposes of this research aimed to 1) study the actual and expected conditions of the operational guidelines of the professional learning community (PLC) for teachers in schools, 2) prioritize the needs of the operational guidelines of PLC for teachers in schools, and 3) propose guidelines for developing the PLC operations for teachers in schools under Buengkan Primary Educational Service Area Office. The sample consisted of 341 school administrators and teachers working under Buengkan Primary Educational Service Area Office in the academic year 2020. The sample size was determined using the Krejcie and Morgan table. The research instrument for Phase I included a 5-level rating scale questionnaire with the reliability value of 0.97. Statistics for data analysis were frequency distribution, percentage, mean and standard deviation, and Phase II was related to establishing guidelines for developing the PLC operations for teachers in schools. The interviews with the target group of nine participants who received the outstanding award for PLC teachers from 2018-2020 were conducted using the target-interview method. The results were as follows: 1) The actual conditions of the PLC operational guidelines for teachers in schools under Buengkan Primary Educational Service Area Office were overall at a high level, and the expected conditions of the PLC operational guidelines for teachers in schools were overall at a high level, 2) Needs analysis of the PLC operational guidelines for teachers in schools under Buengkan Primary Educational Service Area Office revealed that the most critical need was the fifth aspect in terms of technology and Information system (PNImodified = 0.279), and 3) The proposed guidelines for developing the PLC operational guidelines for teachers in schools under Buengkan Primary Educational Service Area Office involved six aspects with 15 approaches.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กรองกาญจน์ นาแพร่. (2560). การเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพที่ส่งผลต่อประสิทธิผล การบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาของรัฐ จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

กัสมัสห์ อาแด. (2561). การพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพด้วยกระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบร่วมมือร่วมพลังในโรงเรียนประถมศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์ ปร.ด. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

นครชัย ชาญอุไร. (2560). การวัดและประเมินผลทางการศึกษา. อุดรธานี: บ้านเหล่าการพิมพ์.

_______. (2561). การวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). อุดรธานี: บ้านเหล่าการพิมพ์.

นุสรา วงศ์จันทรา. (2557). การมีส่วนร่วมในการบริหารงานโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

บุณศรี ไพรัตน์. (บรรณาธิการ). (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. นนทบุรี: พ.ศ. พัฒนา.

วิจารณ์ พานิช. (2554). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

_______. (2556). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล. ส. เจริญการพิมพ์.

ศิริรัตน์ โกศล. (2559). การพัฒนาสถานศึกษาโดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับสถานศึกษา สังกัดสนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). คู่มือการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพสู่สถานศึกษาสำหรับศึกษานิเทศก์. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

สุทธิภรณ์ ขนอม. (2559). รูปแบบการบริหารชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาความสามารถในการสอนภาษาไทยของครูในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2560). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสถียร อ่วมพรม. (2560). แนวทางการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ. อุทัยธานี: ชมรมเด็ก.

อัมพร พินะสา. (2556). รายงานการศึกษาส่วนบุคคล เรื่อง การสร้างรูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาโดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐาน ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. กรุงเทพฯ: สำนักปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ.

Darling-Hammond, L., & Sykes, G. (1999). Teaching as the Learning Profession: Handbook of Policy and Practice. Jossey-Bass Education Series. Jossey-Bass Inc., Publishers, 350 Sansome St., San Francisco, CA 94104.

DuFour, R., DuFour, R. B., Eaker, R. E., & Many, T. W. (2010). Collaborative teams in professional learning communities at work: Learning by doing. Bloomington, Indiana: Solution Tree.

Kalkan, F. (2016). Relationship between Professional Learning Community Bureaucratic Structure and Organisational Trust in Primary Education Schools. Sehit Ogretmen M. Ali Durak Secondary School, Ankara Turkey.