การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were 1) to examine the current and desirable conditions of conducting classroom of teachers under Nakhon Phanom Primary Educational Service Area Office 1, 2) to examine the necessary needs for promoting primary school teachers’ practices in conducting classroom research, and 3) to establish guidelines for promoting primary school teachers’ practices in conducting classroom research. The sample group, obtained through stratified random sampling, consisted of 320 teachers working in primary schools under Nakhon Phanom Primary Educational Service Area Office 1. The sample size was determined by comparing the tables of Krejcie and Morgan. The research tools included: 1) a set of questionnaires on the current conditions in conducting classroom research of primary school teachers with the item objective congruence index (IOC) of 1.00 for all items, the discriminative power ranging from .51 to .92, and the reliability of .93; 2) a set of questionnaires on the desirable conditions on learning management using classroom research of primary school teachers with IOC of 1.00 for all items, the discriminative power ranging from .55 to .81, and the reliability of .98; 3) a structured interview form, and 4) a form for assessing the appropriateness and the feasibility of guidelines for developing primary school teachers’ practices for conducting classroom research. The statistics were percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The results of the research revealed that 1) the current conditions in conducting classroom research of primary school teachers were overall at a high level, and the desirable conditions of conducting classroom research of primary school teachers were overall at the highest level, 2) The highest level of needs for conducting classroom research of primary school teachers was the promotion of the success of conducting classroom research, and 3) The guidelines for promoting practices of conducting classroom research of primary school teachers were overall at the highest level of appropriateness and the feasibility was overall at a high level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กนกจิต สีด้วง. (2558). การส่งเสริมการดำเนินงานวิจัยในชั้นเรียนของโรงเรียนมัธยม ศึกษาจังหวัดนนทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปราชญา รัตพลที. (2558). แนวทางการส่งเสริมครูด้านการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนบ้านสันติสุข อำเภอแม่จัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
ปิยณัฐ กุสุมาลย์ (2560: 109) ได้วิจัยแนวทาง. การพัฒนาครูโดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้. ทางวิชาชีพในการจัดการเรียนรู้ สำหรับสถานศึกษา. 11 หน้า
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2558). ครู TPCK : ครูเก่งของไทย ในเหลียวหลังแลหน้า ปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. เอกสารประกอบการเสวนาการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มารุต พัฒผล. (2557). การจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างการรู้คิดและความสุขในการเรียนรู้. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
วุฒิภัทร แก้วกลึงกลม และจิณณวัตร ปะโคทัง. (2558). การส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของข้าราชการครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต, 5(1), 34-35.
สุธาภรณ์ วรกาญจนกุล. (2556). กระบวนการส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ พธ.ม. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สุพัตรา บุญเมือง. (2557) ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ ค.ม กาญจนบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. (2562). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. นครพนม: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2.
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2559). ประกาศสำนักเลขาธิการครุสภา เรื่อง แนวทางการส่งเสริมสนับสนุนเครือข่ายพัฒนาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา. ลงวันที่ 28 เมษายน
DuFour, R. (2004). What is professional learning community?, Educational Leadership, 61(8), 6-11.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.