การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์สำหรับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่อง จำนวนและการดำเนินการ วิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

Main Article Content

Chorpaka Dorkkhamklang
Artnarong Manosuttirit
Thanawat Wannaprapha

Abstract

The purposes of this research were 1) to develop electronics lessons for android on numbers and operations of Mathematics subject for Prathomsuksa 3 students to meet the efficiency based on the E1/E2 formula with the 80/ 80 criteria, and 2) to examine the learning achieving scores after learning through the developed lessons, and 3) to explore the students’ satisfaction with the use of the developed lessons. The sample consisted of 30 students from a class of Prathomsuksa 3 at Bannoenmok School in the 2020 academic year. The research instruments were 1) the electronics lessons for android on numbers and operations of Mathematics subject for Prathomsuksa 3 students, 2) a learning achievement test, 3) a questionnaire on students’ satisfaction with the use of the developed lessons, and 4) exercises for each lesson. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and the efficiency test with the efficiency criteria E1/E2.


The results revealed that 1) the electronics lessons for android on numbers and operations for Prathomsuksa 3 students with the defined efficiency of 80.06/ 81.76, and the learning achievement test scores after the intervention were higher than those before the intervention with 11.54 percent, and the students’ satisfaction towards the developed lessons was overall at a high level.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ประเทศไทย.

กาญจนา อรุณสุขรุจี. (2546). ความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ต่อการดำเนินงานของสหกรณ์การเกษตรไชยปราการจำกัด อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ วท.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

จักรชัย โสอินทร์. (2554). Basic android app development. นนทบุรี: ไอดีซีฯ.

จุฑามาศ กันทา และบัณฑิตา อินสมบัติ. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดพิจิตร. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 4(6), 41-56.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 5(1), 10.

ฐะณุพงศ์ ศรีกาฬสินธุ์. (2558). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอนแบบซ่อมเสริมบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์: การออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์บนเว็บเพจ. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 31(1), 38-50.

ณัฐชนน โพธิ์อ่อน. (2560). การพัฒนาบทเรียนช่วยฝึกทักษะ วิชาการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปบนอุปกรณ์พกพา เรื่อง การสร้างแอพพลิเคชั่นบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เบื้องต้น. วิทยานิพนธ์ ค.อ.ม. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ดวงพร เพ็รช์เเบน. (2563). ระบบปฏิบัติการแอนดรอยส์. เข้าถึงได้จาก http://potinimi.blogspot.com/. 20 มกราคม 2564.

ดาราวรรณ นนทวาส. (2557). การพัฒนาแอพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรู้บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ กรณีศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนทาขุมเงินวิทยาคาร จังหวัดลําพูน. ใน การประชุมวิชาการ Graduate Research Conference 2014. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

บรรยง เชียรจำรัส. (2562). บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์. เข้าถึงได้จาก https://slideplayer.in.th/slide/2063482/. 20 มกราคม 2564.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้อต้น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

พรทิพย์ วงศ์สินอุดม. (2558). การพัฒนาแอพพลิเคชันบทเรียนบนคอมพิวเตอร์พกพา ร่วมกับการเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ร่วมกันของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544). แนวทางการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: พริกหวาน.

ไพโรจน์ คะเชนทร์. (2556). การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. เข้าถึงได้จาก www.waltoongpel.com/Sarawichakarn/wichakarn/1-10/การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. 20 มกราคม 2564.

พัฒนา เครือคำ. (2557). การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้ชุดการสอนกับการเรียนแบบร่วมมือ ที่มีต่อผลสมฤทธิ์ทางการเรียน คุณธรรม จริยธรรมด้านความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และความพึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 11(52), 89-104.

ยุพิน พิพิธกุล. (2545). การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: บพิท.

รุ่งทิวา นาบำรุง. (2550). วิถีธรรมชาติแห่งการคิดเชิงคณิตศาสตร์ เรื่องของการคูณและการหารของเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 7-10 ปี. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

โรงเรียนบ้านเนินโมก. (2560). ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ปีการศึกษา 2560. ชลบุรี: โรงเรียนบ้านเนินโมก.

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

วิรุฬ พรรณเทวี. (2542). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของหน่วยงาน กระทรวงมหาดไทย ในอำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศุภนันท์ ทับท่าช้าง. (2562). การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น รายวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft excel สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงศึกษาธิการ. (2554). รายงานผลการใช้งานแท็บเล็ตพีซีในโรงเรียน. เข้าถึงได้จาก http://www.moc.moe.go.th/ViewContent.aspx?ID=3302. 15 ธันวาคม 2563.

ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2547). รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษารูปแบบของ E-Learning ที่เหมาะสมกับการศึกษานอกโรงเรียน. กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2544). ทฤษฏีการทดสอบแบบดั้งเดิม. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2550). เอกสารสำหรับผู้รับการอบรมคณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรที่ 1. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2545). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

สมเดช บุญประจักษ์. (2540). สหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์.

สมบูรณ์ ตันยะ. (2545). การประเมินทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

สารานุกรมเสรี. (2563). โครงสร้างของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์. เข้าถึงได้จาก https://th.wikipedia.org/wiki/แอนดรอยส์_(ระบบปฏิบัติการ). 20 มกราคม 2564.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1. (2559). รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559. ชลบุรี: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

Anderson, R. H. (1980). Clinical supervision. New York: Holt Rinehart and Winston.

Baroody, A. J. (1993). Problem Solving, reasoning, and communicating (K-8) helping kids think mathematically. New York: NY Macmillan.

Bruner, J. S. (1966). Toward a theory of instruction. Cambridge, MA.

El-Gayar, O., Moran, M., & Hawkes, M. (2011). Student’s acceptance of tablet pc and implications for education. Retrieved from: http://www.ifets.info/jurnals/14.2/5. May 25th 2020.

Greenwood, J. J. (1993). On the nature of teaching and assessing mathematic power and mathematic thinking. Arithmetic teacher, 41(3), 144-152.

Guilford, W & Hoepfner, R. (1971). The Analysis of Intelligence. New York: McGraw-Hill.

Kakbra, J. F., & Sidqi, H. M. (2013). Measuring the impact of ICT and e-leaning on higher education system with redesigning and adapting Moodle system in Kurdistan region government, KRG-Iraq. Paper Presented at the Proceedings of the 2nd e-learning Regional Conference-State of Kuwait.

Krulik, R., & Rudnick, E. R. (2003). Problem solving in school mathematics. Virginia: The National Council of Teacher of Mathematics.

Lappan, G., & Schram, P. W. (1989). Communication and reasoning: Critical dimensions of sense making in mathematics. Reston, Virginia: NCTM.

Mayer, R. E. (1983). Reading strategies training for meaningful learning from prose. New York: Cognitive Strategy Research, Springer.

National Council of Teacher of Mathematics. (1989). Mathematic. Virginia: National Council of Teacher of Mathematics.

O’Daffer, P. G., & Thornquist, B. A. (1993). Critical thinking, mathematical reasoning and proof. New York: Macmillan.

Seel, B., & Glasgow, Z. (1988). Making instructional design decisions. Columbus, Ohio: Prentice-Hall.